Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5711
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเชาว์ โรจนแสง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสุวีณา ตั่งโพธิสุวรรณ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorชนิศร สนิทวงศ ณ อยุธยา-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-05-01T06:30:50Z-
dc.date.available2023-05-01T06:30:50Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5711-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความประทับใจในการบริการของผู้โดยสาร ของบริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) (2) ประเมินประสิทธิภาพการปฏิบัติการของหน่วขงาน และ (3) แนวทางในการปรับปรุงการบริการของหน่วยงานด้านบริการผู้โดยสารขาออกระหว่าง ประเทศของบริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) ให้มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลในการ ปฏิบัติงาน กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้โดยสารทึ่มาใช้บริการ ณ ห้องโถงผู้โดยสารขาออกระหว่างประเทศ ในช่วงเดือนธันวาคม 2550 - มกราคม 2551 จำนวน 400 คน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบสอบถามความพึงพอใจต่อการบริการ วิเคราะห์โดย ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ ค่าเบียงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และการทดสอบค่าเอฟ ผลการวิจัยพบว่า (1) ผู้โดยสารมีระดับความประทับใจต่อการให้บริการผู้โดยสาร ณ ห้องโถงผู้โดยสารขาออกระหว่างประเทศของบริษัท การบินไทย จำกัด มหาชน ในระตับปานกลาง 1 ด้านคือ ด้านความมั่นใจ และอยู่ในระดับสูง 4 ด้านคือ ด้านความเชื่อถือได้ การตอบสนอง ความ เข้าถึงจิตใจ และการสร้างสิ่งที่จับต้องได้ และมีความคาดหวังต่อการให้บริการผู้โดยสาร ณ ห้อง โถงผู้โดยสารขาออกระหว่างประเทศของบริษัท การบินไทย จำกัด มหาชน ในระดับสูงทึ่สุดทั้ง 5 ด้าน (2) ผู้โดยสารที่มีลักษณะส่วนบุคคลแตกต่างกันด้านเพศ อายุ ภูมิลำเนา ระดับการศึกษา อาชีพ สถานภาพครอบครัว รายได้ต่อเดือน และจำนวนครั้งที่ใช้บริการ ณ ห้องโถงผู้โดยสารขาออก ระหว่างประเทศโดยเฉลี่ยต่อปี จะมีความประทับใจต่อการบริการไม่แตกต่างกัน และ (3) ผู้โดยสาร ต้องการให้มีการปรับปรุงทั้งในส่วนของพนักงาน อุปกรณ์ในการทำงาน และในส่วนของการ ให้บริการให้สมบูรณ์ที่สุดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.465-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectบริษัทการบินไทย--พนักงาน--ความพอใจของผู้ใช้บริการth_TH
dc.subjectผู้โดยสารเครื่องบิน--ไทยth_TH
dc.titleความประทับใจของผู้โดยสารการบินไทยต่อการให้บริการของพนักงานการบินไทย ณ ห้องโถงผู้โดยสารขาออกระหว่างประเทศth_TH
dc.title.alternativeThe passengers' impression of Thai Airways Public Company Limited passengers with the service of Thai Airways staffs in the international departureth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2007.465-
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (I) to study service demand of Thai Airways International Public Company Limited’s passengers (2) to evaluate the operation efficiency of the company; and (3) the ways to improve service of the company in the international departure lounge efficiently and effectively. The studies samples purposively sampled were 400 passengers who used service in the international departure lounge during December 2007 - January 2008. Data collection tools were service satisfaction questionnaire. Data were analyzed as average, percentage, standard deviation, t-test and F-test. The result oi reason found that: (1) the level of impression of the passengers in the international departure lounge of Thai Airways Public Company Limited was one moderate level in confidence and 4 high levels in reliability, reaction, empathy and tangibility. (2) The passengers who had personal difference in gender, age, domicile, level of education, occupation, marital status, monthly income and frequency of service requisition averagely per year at the international departure lounge had no different service impression. (3) Passengers required for improvement both in staff and work equipment, including services to be excellent and perfecten_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
108614.pdfเอกสารฉบับเต็ม8.12 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons