Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5716
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | กิ่งพร ทองใบ | th_TH |
dc.contributor.author | อรัญญา อ่อนรักษ์ | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-05-01T06:56:40Z | - |
dc.date.available | 2023-05-01T06:56:40Z | - |
dc.date.issued | 2551 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5716 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาข้อมูลทั่วไปของบุคลากรที่ส่งผลต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (2) ศึกษาระดับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 จังหวัดสงขลา (3) ศึกษาปัจจัยบรรยากาศองค์กรในด้านโครงสร้างองค์กรและโครงสรัางของงาน ด้านนโยบายการบริหารขององค์กร ด้านลักษณะงานที่ปฎิบัติ ด้านการสนับสนุน ด้านความสัมพันธ์ภายในหน่วยงาน ต้านความมั่นคงและความกัาวหนัา และต้านค่านิยมขององค์กร ที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และ (4) เสนอแนะแนวทางในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 จังหวัดสงขลา ประชากรที่ใช้ในการวิจัยคือ บุคลากรของสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 จังหวัดสงขลา 393 คน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ข้าราชการ 147 คน ลูกจ้างประจำ 74 คน พนักงานราชการ 16 คน รวมทั้งสิ้น 236 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามมีค่าความเที่ยง.95 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ ผลการวิจัยพบว่า (1) เมื่อทดสอบข้อมูลทั่วไปที่ส่งผลต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์พบว่า บุคลากรที่มีอายุแตกต่างกันมีระดับความคิดเห็นในด้านการฝึกอบรม/สัมมนา/ดูงานแตกต่างกัน และ บุคลากรที่มีหน่วยงานที่สังกัดแตกต่างกันมีระดับความคิดเห็นในด้านการพัฒนาตนเองแตกต่างกัน ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติที่.10 (2) บุคลากรของสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 จังหวัดสงขลา มี ระดับความคิดเห็นที่มีต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 3 ด้านอยู่ในระดับมากทุกด้าน (3) ระดับความคิดเห็นที่มีคือปัจจัยบรรยากาศองค์กร 7 ด้าน อยู่ในระดับมากทุกด้าน ซึ่งไม่มีความแตกต่างกันและมี ความสัมพันธ์กันโดยมีระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.01 และ (4) ข้อเสนอแนะคือ บุคลากรมีความต้องการที่จะพัฒนาตนเองและแหล่งเรียนรู้ที่ต้องการ โดยวิธีการประชุม/อบรม/สมนา การพัฒนา บรรยากาศการเรียนรู้ต้องการมุมการจัดการความรู้ ต้องการพัฒนาตนเองให้มีความรู้ความสามารถในด้านคอมพิวเตอร์/สารสนเทศ ต้องการคอมพิวเตอร์ในการพัฒนางาน | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2008.355 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 จังหวัดสงขลา | th_TH |
dc.subject | การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์--ไทย--สงขลา | th_TH |
dc.title | ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 จังหวัดสงขลา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข | th_TH |
dc.title.alternative | Factors influencing human resource development of the Office of Disease Prevention 12 Songkhla Province, Department of Disease Control, Ministry of Public Health | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2008.355 | - |
dc.identifier.url | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2008.355 | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this study were to: (1) the general information influencing Human Resource Development (HRD); (2) the level of HRD of The Office of Disease Prevention 12 Songkhla Province; (3 ) the organization atmosphere factor on task and organizational structure administration , policy of the organization , task types , support, organizational relationship , security and advancement, and organizational value organization’s influencing HRD ; and (4) fised suggestions on HRD of the office. The research populations were 393 personnel of The Office. A total of 236 research samples comprised 147 government officers, 74 permanent employees and 16 government service officers. The research instrument was a questionnaire with .95 level of reliability. Statistics used for research data analysis were percentage, mean, standard deviation, t-test, ANOVA and correlation coefficient. The research findings were:(l) in general examine factors influencing HRD the samples with different age had different opinions in training, seminar and study to. The samples with different department had different opinions for self development, at .10 level of significance ;(2) the opinions to 3 aspects of HRD were at the high level ;(3) no different opinions on 7 the organization’s atmosphere factors which were at the high level and had relationship with statistical difference at .01 level of significance ; and(4) the suggestion were; need of self development and learning sources by meeting training ; seminar development of learning atmosphere as knowledge management comer ; need of self development in capability on computer, information technology and management information system. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | ราณี อิสิชัยกุล | th_TH |
Appears in Collections: | Manage-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
108615.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 5.45 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License