Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5819
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorลาวัลย์ หอนพรัตน์th_TH
dc.contributor.authorจุฬาภรณ์ ธีรภัทรสิริ, 2511-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-05-03T07:19:56Z-
dc.date.available2023-05-03T07:19:56Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5819en_US
dc.description.abstractการค้นคว้าอิสระเรื่อง การถือครองที่ดินโดยคนต่างด้าวมีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาเกี่ยวกับการถือครองที่ดินของคนต่างด้าวและมาตรการที่เกี่ยวข้องกับการทำธุรกรรมโดยอาศัยตัวแทนอำพรางตามกฎหมายไทยและกฎหมายต่างประเทศ 2. เพื่อศึกษาปัญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับการซื้อครองที่ดินของคนต่างด้าวและเสนอแนะแนวทางในการแก้ปัญหาเพื่อให้มีการใช้กฎหมายอย่างมีประสิทธิภาพ การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยวิธีการวิจัยทางเอกสาร โดยศึกษาค้นคว้า จากตำรา บทความ วิทยานิพนธ์ คำพิพากษาฎีกาว่าสื่อสิ่งพิมพ์อื่น ๆ ทั้งของไทยและต่างประเทศรวมทั้งสัมภาษณ์เชิงลึกบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการทำธุรกรรมในการถือครองที่ดินของคนต่างด้าว ผลการศึกษาพบว่าการถือครองที่ดินของคนต่างด้าวหากปราศจากการควบคุมจะเป็นการเสี่ยงต่อความมั่นคงของประเทศผลการวิจัย พระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว พ.ศ. 2542 ยังมีปัญหาหลายด้าน เช่น นักลงทุนต่างชาติอำพรางตนเข้ามาประกอบธุรกิจในฐานะนิติบุคคลไทยอย่างถูกกฎหมายด้วยการถือหุ้นทางอ้อมและอย่างผิดกฎหมายด้วยกัน ถือหุ้นผ่านบุคคลหรือนิติบุคคลไทย รวมทั้งคำนิยามคนต่างด้าวของไทยยังไม่สามารถแยกนักลงทุนต่างด้าวและนักลงทุนในประเทศออกจากกันได้อย่างชัดเจนและบทกำหนดโทษดังกล่าว กำหนดโทษเบาทำให้ไม่มีประสิทธิภาพอย่างแท้จริง ผู้กระทำผิดไม่เกรงกลัวต่อกฎหมาย ผู้วิจัยจึงเสนอแนวทางการแก้ปัญหา มีสองแนวทางในระยะสั้น ควรมีหน่วยงานหลักรับผิดชอบในการติดตามตรวจสอบปัญหาคนต่างด้าวอย่างจริงจังอย่างเช่นประเทศออสเตรเลียมีคณะกรรมการคอยกำกับดูแลเกี่ยวกับคนต่างด้าวโดยเฉพาะ โดยอาศัยมาตรา1(8) แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 ซึ่งกำหนดให้มีการแก้ไขปัญหาการทำธุรกรรมลักษณะตัวแทนอำพรางแทนคนต่างด้าว แนวทางที่สองในการแก้ปัญหาระยะยาวควรแก้ไข้ ประมวลกฎหมายที่ดินเฉพาะในบทบัญญัติเกี่ยวกับคนต่างด้าว โดยแก้ไขคำนิยามจองคนต่างด้าวและเพิ่มอัตราพูดในการถือของครองที่ดินแทนคนต่างด้าวให้มีโทษจำคุกและปรับสูงขึ้น กำหนดบทเฉพาะกาลให้นิติบุคคลซึ่งจดทะเบียนในประเทศไทยที่ไม่เป็นคนต่างด้าวตามคำนิยามกฎหมายเดอะเดิมแต่เป็นคนต่างด้าวตามคำนิยามที่ แก้ไขเพิ่มเติมหากประสงค์จะประกอบธุรกิจต่อไปต้องแจ้งต่ออธิบดีภายในหนึ่งปี เพื่อขอหนังสือรับรองการ ประกอบธุรกิจแล้วสามารถประกอบธุรกิจตามบัญชีต่อไปได้ส่วนธุรกิจตามบัญชีหนึ่งหรือวันที่สองสามารถ ประกอบธุรกิจได้ไม่เกินสองปี ทั้งนี้เพื่อให้ผู้ได้รับผลกระทบจากการปรับปรุงคำนิยามดังกล่าวสามารถประกอบ ธุรกิจตามบัญชีสามได้ต่อไปหรือหากประกอบธุรกิจตามบัญชีหนึ่งหรือสองซึ่งเป็นธุรกิจเกี่ยวกับความปลอดภัย หรือความมั่นคงของประเทศก็ต้องปรับตัวหรือหรือเลิกประกอบธุรกิจภายในสองปีth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการถือครองที่ดินth_TH
dc.subjectคนต่างด้าว--กฎหมายและระเบียบข้อบังคับth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--นิติศาสตร์th_TH
dc.subjectกฎหมายอาญาth_TH
dc.subjectการลงโทษth_TH
dc.titleมาตรการลงโทษทางอาญา กรณีฝ่าฝืนการถือครองที่ดินแทนคนต่างด้าวth_TH
dc.title.alternativeCriminal sanction measures in case of violation of the aliem land holdingen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research are to study 1) land ownership by aliens both Thai and foreign laws regarding transactions for the use of nominees to evade alien land holding laws; and 2) legal problems involved with alien land holding, also propose recommendations to solve those problems and make the law more effective. This is a qualitative study based on documentary research of textbooks, articles, theses, judgments and other print media from Thailand and other countries, as well as in-depth interviews with people involved in alien land holding businesses. Permitting aliens to own land without proper controls may be a risk to national security. This is because the Alien Business Act of 1999 (B.E. 2542) still has many problems. For instance, foreign investors can conceal their doing business in Thailand legally by working through a Thai legal entity in which they indirectly hold shares, or illegally by holding shares through a nominee that is a Thai person or Thai juristic person. In addition, the definition of “alien” in the Thai law cannot differentiate clearly between an alien investor and a Thai investor. Furthermore, the penalties for violations are light, so offenders are not afraid of the law and its enforcement is also not efficient. Therefore, the researcher recommends two approaches to solving these problems. In the short term, a specific central agency should be assigned to follow up on and inspect problems involving aliens, under the authority of Clause 1(8) of the 1991 National Administration Rules Act (B.E. 2534), which provides for solving problems involving business transactions through nominees. This would be similar to a specialized committee in Australia. In the long term, the parts about aliens in the land laws should be revised by rewriting the definition of “alien” and increasing the fines and imprisonment penalties for violations. A grandfather clause should be added stating that juristic persons registered in Thailand that were not considered aliens under the old law but are now considered aliens under the amended law must request a permit from the relevant authority within one year if they wish to continue doing business in Thailand. With such permit, most businesses already in business could then continue doing business, but businesses under the first list or second list could only continue doing business for no more than two years. Then businesses under the third list affected by the change in the definition of “alien” could continue to do business under the third list, but for businesses under the second list or third list, which are businesses related to national security, they would have to change their shareholding structure to comply with the amended law or else cease doing business in Thailand within two years.en_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_151402.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.62 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons