Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/581
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดวงกมล ปิ่นเฉลียว, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสุทธีพร มูลศาสตร์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorปรางค์ บัวทองคำวิเศษ, 2529--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-13T06:36:55Z-
dc.date.available2022-08-13T06:36:55Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/581-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2558th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ผลของโปรแกรมการจัดการตนเองต่อพฤติกรรมการจัดการตนเองของผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และ (2) ผลของโปรแกรมการ จัดการตนเองต่อระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 โดยนำแนวคิดการจัดการตนเองของแคนเฟอร์ (Kanfer) มาเป็นกรอบแนวคิดในการทำวิจัย กลุ่มตัวอยางเป็นผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ที่มารับการรักษาที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลท่าก๊อ จำนวน 40 คน โดยแบ่งเป็นกลุ่มทดลอง และกลุ่มเปรียบเทียบกลุ่มละ 20 คน จับคู่ให้มีคุณสมบัติคล้ายคลึงกันในเรื่องเพศ อายุ ชนิดของยารักษาเบาหวานและระยะเวลาที่ป่วยเป็นโรคเบาหวาน กลุ่มเปรียบเทียบได้รับการดูแลตามปกติ ส่วนกลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการจัดการตนเองร่วมกับการดูแลตามปกติเป็นระยะเวลา 9 สัปดาห์ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือโปรแกรมการจัดการตนเองแบบสอบถามพฤติกรรมการจัดการตนเอง และแบบ บันทึกระดับน้ำตาลในเลือด วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า (1) ค่าเฉลี่ยของพฤติกรรมการจัดการตนเองระหว่างกลุ่มทดลอง และกลุ่มเปรียบเทียบมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05, ค่าเฉลี่ยพฤติกรรมการจัดการตนเองของกลุ่มทดลองหลังได้รับโปรแกรมการจัดการตนเองสูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (2) หลังทดลองค่าเฉลี่ยของระดับน้ำตาลในเลือดระหว่างกลุ่มทดลอง และกลุ่มเปรียบเทียบไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05, ค่าเฉลี่ยระดับ น้ำตาลในเลือดของกลุ่มทดลองหลังได้รับโปรแกรมการจัดการตนเองต่ำกว่าก่อนได้รับโปรแกรมการจัดการตนเองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2015.110-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectเบาหวาน--ผู้ป่วยth_TH
dc.subjectการดูแลสุขภาพด้วยตนเองth_TH
dc.titleประสิทธิผลของโปรแกรมการจัดการตนเองในผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ในตำบลท่าก๊อ อำเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงรายth_TH
dc.title.alternativeThe Effectiveness of self-management program on type 2 diabetic patients in Thakor, Measuai District, Chaiangrai Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2015.110-
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this quasi-experimental study were to study: (1) the effect of selfmanagement program on self-management behavior in type 2 diabetic patients and (2) the effect of self-management program on plasma glucose level in type 2 diabetic patients. The conceptual model used in this study was Kanfer’s self-management model. The samples were 40 patients with type 2 diabetes receiving at the Thakor health promoting hospital. The experimental and the compare groups were matched in terms of sex age type of medications and duration of illness. The compare group received conventional nursing care while the experimental group received conventional nursing care and the self-management program. The research instrument were the self-management program, the self-management behavior and the blood sugar record form. Data were analyzed by using frequency, percentage, mean, standard deviation and t-test The results revealed that: (1) The mean difference of the self-management behavior in the experimental group was significantly higher than the compare group (p< .05). and (2) There was no significantly difference of plasma glucose level in type 2 diabetic patients between the experimental and the compare groups (p< .05), after receiving the self-management program the mean score on the plasma glucose level in the experimental group was significantly lower than those before receiving the self-management program (p< .05)en_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext 151569.pdfเอกสารฉบับเต็ม15.08 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons