Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5847
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorลาวัลย์ หอนพรัตน์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorชัยยุทธ อินแสน, 2527-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-05-08T02:32:22Z-
dc.date.available2023-05-08T02:32:22Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5847-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาแนวคิด ทฤษฎี ประวัติ และงานวิจัย เกี่ยวกับมาตรการป้องกันการผิดสัญญาประกัน ศึกษาหลักกฎหมายของไทยเกี่ยวกับมาตรการป้องกันการผิดสัญญาประกันในชั้นพนักงานสอบสวนเปรียบเทียบกับกฎหมายของต่างประเทศ ศึกษาวิเคราะห์ ปัญหามาตรการป้องกันการผิดสัญญาประกันในชั้นพนักงานสอบสวนของประเทศไทย เสนอแนะ แนวทางแก้ไขเพิ่มเติมมาตรการป้องกันการผิดสัญญาประกันในชั้นพนักงานสอบสวนของประเทศไทย ให้มีประสิทธิภาพ มีบทบัญญัติที่ชัดเจน ครอบคลุม และสอดคล้องกับสภาพสังคมไทยในปัจจุบัน การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยวิธีวิจัยเอกสารจากข้อมูลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น ตำรา วิทยานิพนธ์ เอกสารทางวิชาการ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ทางอินเตอร์เน็ต รวมทั้งเอกสาร อื่นที่เป็นประโยชน์ต่อการศึกษา และวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อเสนอแนวทางแก้ไขปัญหาทางกฎหมายต่อไป ผลการศึกษาพบว่า มาตรการป้องกันการผิดสัญญาประกันในชั้นพนักงานสอบสวน ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ยังไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอแก่การป้องกันการผิดสัญญาประกัน กล่าวคือ ในส่วนของมาตรการป้องกันก่อนผิดสัญญาประกัน ไม่มีบทบัญญัติกำหนดลักษณะของความผิดที่สามารถประกันตัวผู้ต้องหาได้ไว้อย่างชัดเจน ไม่มีบทบัญญัติให้ระบุเงื่อนไขว่าผู้ต้องหา จะไม่ไปยุ่งเหยิงกับพยานหลักฐาน ไม่ไปก่อเหตุอันตรายประการอื่น และยินยอมให้เพิกถอนหนังสือ เดินทางระหว่างได้รับการประกันไว้ในสัญญาประกัน ไม่ให้โอกาสผู้เสียหายโต้แย้ง ขอทบทวน หรืออุทธรณ์คำสั่งอนุญาตให้ประกัน ในชั้นพนักงานสอบสวน ในส่วนของมาตรการหลังผิดสัญญาประกันไม่มีมาตรการบังคับคดีเมื่อผิดสัญญาประกนในชั้นพนักงานสอบสวน ไม่มีมาตรการลงโทษผู้ประกันที่มีเจตนาให้เกิดการผิดสัญญาประกัน หรือมีส่วนรู้เห็นในการกระทำผิดสัญญาประกันของผู้ต้องหา เพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าวจึงได้เสนอแนะให้แก้ไข้เพิ่มเติมบทบัญญัติของประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ให้มีบทบัญญัติที่สอดคล้องกับผลการศึกษา และประเด็นปัญหาดังกล่าวข้างต้น ทั้งนี้เพื่อสร้างมาตรการป้องกันการผิดสัญญาประกันในชั้นพนักงานสอบสวนที่มีประสิทธิภาพth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectกฎหมายแพ่งและพาณิชย์--ค้ำประกันth_TH
dc.subjectประกันตัวth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรมth_TH
dc.titleมาตรการป้องกันการผิดสัญญาประกันในชั้นพนักงานสอบสวนth_TH
dc.title.alternativeMeasures to prevent breach of bail contract in the investigation procedureen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis independent study aims to: study concepts, theories, history and research concerning the measures to prevent breach of bail contract in the investigation procedure, study principle of Thai law concerning the measures to prevent breach of bail contract in the investigation procedure comparing with foreign countries law, analyze the measures to prevent breach of bail contract in the investigation procedure problem of Thai law, provide guideline for amending the measures to prevent breach of bail contract in the investigation procedure of Thai law. This independent study is a qualitative research with the way researches a document from all data that relate such as, textbook, thesis, academic publications, data from electronic media and other documents. The study found that the measures to prevent breach of bail contract in the investigation procedure, according to the criminal procedure code, are still insufficient. In the part of the preventive measures before breach of bail contract, there is no provision of the law to clearly prescribe the types of the offenses that can be used to bail an accused. There is no provision of the law on specifying the conditions where an accused cannot interfere with the evidences, will not cause any other dangerous and consents the passport to be withdrawn during the period of bailment stipulated under such bail contract, or not providing victim a change to argue review or even appeal an order to bail in investigation procedure. For the measures after the breach of bail contract, there is no such measure to execute the case when the breach of bail contract arises in the investigation procedure, no measure to punish a bailsman who has an intention or conspires to breach the bail contract of the accused. To solve these mentioned problems the writer would like to propose to amend or augment the provisions in criminal procedure code in order to provide effective measures to prevent breach of bail contract in the investigation procedure.en_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_154994.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.82 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons