Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/585
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พาณี สีตกะลิน | th_TH |
dc.contributor.author | ก้องเกียรติ เติมเกษมศานต์, 2507- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-08-13T06:56:12Z | - |
dc.date.available | 2022-08-13T06:56:12Z | - |
dc.date.issued | 2546 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/585 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ส.ม.(บริหารโรงพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2546 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งทึ่มีวัตถุประสงคเพื่อ 1) ประเมินประสิทธิผลของ TQM ในการพัฒนาคุณภาพบริการของโรงพยาบาลชุมชนในเขตภาคเหนือที่เข้าร่วมโครงการพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล 2) เปรียบเทียบประสิทธิผลของ TQM ระหว่างโรงพยาบาลที่ได้รับและยังไม่ได้รับการรับรองกระบวนการคุณภาพโรงพยาบาล 3) เปรียบเทียบปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิผลของ TQM ระหว่างโรงพยาบาลที่ไต้รับและยังไม่ได้รับการรับรองกระบวนการคุณภาพโรงพยาบาล 4) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิผลของ TQM กลุ่มตัวอย่างคือคณะกรรมการบริหารโรงพยาบาลจำนวน 278 คน จากโรงพยาบาลชุมชนในเขตภาคเหนือจำนวน 30 แห่ง ประกอบด้วยโรงพยาบาลได้รับการรับรองกระบวนการคุณภาพโรงพยาบาลจำนวน 10 แห่ง และที่ยังไม่ได้รับการรับรองกระบวนการคุณภาพโรงพยาบาลจำนวน 20 แห่ง เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามเพื่อประเมินประสิทธิผลของ TQM ในการพัฒนาคุณภาพบริการของโรงพยาบาลชุมชนในเขตภาคเหนือจากเกณฑ์การประเมินของ The Malcolm Baldrige National Award ปี 2003 สถิติที่ได้ในการวิเคราะฑ์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และการทดสอบแมนวิทนีย์ ยู ผลการวิจัยพบว่า 1) โรงพยาบาลชุมชนในเขตภาคเหนือที่เข้าร่วมโครงการพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลส่วนใหญ่ (12 แห่ง) มีประสิทธิผลของ TQM ในอยู่ในระดับสูง 2) ประสิทธิผลของ TQM ในโรงพยาบาลที่ได้รับการรับรองกระบวนคุณภาพโรงพยาบาลมีความแตกต่างกับโรงพยาบาลที่ยังไม่ได้รับการรับรองกระบวนการคุณภาพโรงพยาบาลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.01) 3) ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิผลของ TQM ทุกตัว (ภาวะผู้นำ ระบบสารสนเทศและการวิเคราะห์ การวางแผนเชิงกลยุทธ การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคลการจัดการกระบวนการ การเน้นผู้รับบริการเป็นศูนย์กลาง และผลลัพธ์การดำเนินการ) ของโรงพยาบาลที่ได้รับ การรับรองกระบวนคุณภาพโรงพยาบาลมีความแตกต่างกับโรงพยาบาลที่ยังไม่ได้รับการรับรองกระบวนการคุณภาพโรงพยาบาลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.01) 4) ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิผลของ TQM ของ โรงพยาบาลชุมชนในเขตภาคเหนือที่เข้าร่วมโครงการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันในเชิงบวกทุกปัจจัย | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2003.271 | - |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Reformatted digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | โรงพยาบาลชุมชน--การบริหาร | th_TH |
dc.subject | โรงพยาบาลชุมชน | th_TH |
dc.subject | การบริหารคุณภาพโดยรวม | th_TH |
dc.title | ประสิทธิผลของ TQM ในโรงพยาบาลชุมชนในเขตภาคเหนือที่เข้าร่วมโครงการพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล | th_TH |
dc.title.alternative | TQM-bease effectiveness of Northern community hospitals in hospital accreditation program | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2003.271 | - |
dc.degree.name | สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (บริหารโรงพยาบาล) | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this study were to (1) evaluate the Effective-TQM in Northern Community I lospitals participated in hospital development and accrediting project (2) compare the Effective-TQM between Accredited and non-Accredited Northern Community Hospitals; (3) compare the Effective-TQM factors between Accredited and non-Accredited Northern Community Hospitals; and (4) examine the correlation between the Effective-TQM factors The study samples were 278 hospital’s administrative committee of 30 Northern Community I lospitals, 10 Accredited and 20 non-Accredited I lospitals. The research instrument was a questionnaire containing the modified health-care criteria for the Effective-TQM of the Malcolm Baldrige National Award 2003. Statistics used for data analysis were percentage, mean and Mann-Whitney test. The research findings were (1) the Effective-TQM in Northern Community I lospitals participated in hospital development and accrediting project were found a majority (12 hospitals) in high level; (2) the Effected-TQM of Accredited and non-Accredited Northern Community I lospitals were found statistically significant difference (P < 0.01); (3) all factors of the Effected-TQM of Accredited and non-Accredited Northern Community I lospitals (leadership, information and analysis system, strategic planning, human resource concerning, process management, patient center concerning and outcome) were found statistically significant differences (P < 0.01); (4) the Effected-TQM factors of Northern Community Hospitals participated in hospital development and accrediting project revealed positively correlated between every factors | th_TH |
dc.contributor.coadvisor | พรทิพย์ เชิดชูพงศ์ล้ำ | th_TH |
Appears in Collections: | Health-Theses |
This item is licensed under a Creative Commons License