Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5872
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนิตยา เพ็ญศิรินภา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวรรณิภา ทาโสม, 2531--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.date.accessioned2023-05-08T08:18:57Z-
dc.date.available2023-05-08T08:18:57Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5872-
dc.description.abstractการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในงานการแพทย์และสาธารณสุขทำให้เกิดการพัฒนางานที่สะดวก รวดเร็ว ครอบคลุมและมีคุณภาพมากขึ้น การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาเป็นโปรแกรมบันทึกผลการตรวจหาเชื้อวัณโรคจากเสมหะโดยวิธีย้อมสีทนกรดของโรงพยาบาลไทรงาม และ (2) ศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้งานโปรแกรมดังกล่าว กระบวนการพัฒนาโปรแกรม มีการออกแบบโดยนำสมุดทะเบียน TB 04 ที่ใช้ในการลงข้อมูลมาเป็นต้นแบบในการพัฒนาโปรแกรมสร้างเว็บไซต์และเขียนโปรแกรมให้ตรงกับความต้องการของผู้ใช้ที่สามารถเข้าถึงได้ในระบบออนไลน์ ประเมินค่าดัชนีความสอดคล้องและประสิทธิภาพของโปรแกรมโดยผู้ทรงคุณวุฒิ 3 ท่าน ภายหลังจากปรับปรุงตามคำแนะนำของผู้ทรงคุณวุฒิ ได้ทดลองใช้งานด้วยตนเองก่อนนำไปให้นักเทคนิคการแพทย์ นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ และนักวิชาการสาธารณสุขของโรงพยาบาลไทรงาม 3 ท่าน ทดลองใช้งาน และประเมินความพึงพอใจจากใช้งานโปรแกรมที่พัฒนาขึ้น ผลการพัฒนา (1) โปรแกรมเว็บไซต์เอเอฟบีรีจิสเตอร์ ประกอบด้วยการล็อคอินเข้าสู่ระบบ เมนูโปรแกรม เมนูทะเบียนบันทึกผล เมนูค้นหา เมนูบันทึกผล และเมนูจัดการผู้ใช้ ซึ่งมีค่าดัชนีความสอดคล้องและประสิทธิภาพของโปรแกรมเท่ากับ 1.0 และ (2) ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้งานโปรแกรม พบว่าภาพรวมของรูปแบบโปรแกรม สี ขนาดตัวอักษรชัดเจน เข้าใจง่าย การสืบค้นข้อมูล การเพิ่ม ลบ แก้ไขข้อมูลสามารถทำได้ง่าย มีผลการประเมินอยู่ในเกณฑ์ดีถึงดีมาก สามารถนำมาใช้งานในห้องปฏิบัติการได้จริง และทำให้การทำงานสะดวกมีประสิทธิภาพดีขึ้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)th_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectวัณโรค--การวินิจฉัยth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--สาธารณสุขศาสตร์th_TH
dc.titleการพัฒนาโปรแกรมบันทึกผลการตรวจหาเชื้อวัณโรคจากเสมหะโดยวิธีย้อมสีทนกรดของโรงพยาบาลไทรงามth_TH
dc.title.alternativeDevelopment of a program for recording results of sputum acid-fast staining for tuberculosis bacteria at Saingam Hospitalen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativePublic health and medical communities have gained huge benefits from the applications of information and communication technology, leading to the fast advancement of public health work. The objectives of this study were were: (1) to develop a computer program to record the results of sputum acid acid-fast bacilli (AFB) stains for tuberculosis at Saingam HospitalHospital; and (2) to assess satisfaction of users of the program. The program development process involved designing a program using the TB04 register book for data entry as a model, creating a website and writing a program to meet users’ needs for online access. The index of consistency and the efficiency of the draft program were assessed by three experts. After improving and revis ing the draft program, the researcher tried it out until reaching the satisfaction. Then, the finalized program was tested by three users (a medical technologist, a medical scientist, and a public health technical officer) of Saingam Hospital. Their satisf action with the program was also assessed. The results showed that: (1) the www.afbregister.com page consisted of login, program menu, registration menu, result record, search menu, save result menu and user management menu, with program performance and co nsistency index of 1.0 1.0; and (2) the users’ satisfaction levels were good and very good with the overall program pattern, color, clear and easily understandable wording, suitable font size, and easy data retrieval, adding, deleting, and editing. The newly d eveloped program could be practically used in the laboratory, facilitating convenient, faster, and more efficient worken_US
Appears in Collections:Health-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม17.57 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons