Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5879
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิเชียร เลิศโภคานนท์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorธัญญรัศม์ วศวรรฌวัฒน์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorศริศักดิ์ สุนทรไชย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorประเพ็ญพิศ คงมาก-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-05-08T09:03:23Z-
dc.date.available2023-05-08T09:03:23Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5879-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการซื้อยาจาก ร้านขายยาแผนปัจจุบัน (2) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลกับพฤติกรรมการซื้อยาจากร้านขายยาแผนปัจจุบัน (3) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนประสมการตลาคกับพฤติกรรมการซื้อยาจากร้านขายยาแผนปัจจุบัน และ (4) ปัญหาต่างๆ ที่ ผู้บริโภคประสบในการซื้อยาจากร้านขายยาแผนปัจจุบันของผู้บริโภคในจังหวัดกระบี่ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ผู้วิจัยได้ทำการสุ่มตัวอย่างร้านขายยามาครึ่งหนึ่งของจำนวนร้านขายยาที่มี อยู่ในแต่ละอำเภอ ได้ร้านขายยาจำนวน 55 ร้าน จากร้านขายยาที่มีอยู่ในจังหวัดกระบี่ทั้งหมด 104 ร้าน ประชากรที่ทำการศึกษา เป็นคนไทยที่ซื้อยาจากร้านขายยาแผนปัจจุบันในเขตจังหวัดกระบี่ โดยเลึอกกลุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญจากร้านขายยาร้านละ 7 คน ได้กลุ่มตัวอย่างทั้งหมดจำนวน 385 คน เครื่องมือที่ใด้เป็นแบบสอบถาม ที่เชื่อถือได้ 0.909 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทำการทคสอบความสัมพันธ์ด้วยไคสแควร์ ผลกาววิจัยพบว่า (1) กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีทะเบียนบ้านอยู่ในจังหวัคกระบี่ เป็นเพศหญิงมีอายุระหว่าง 21-30 ปี การศึกษาต่ำกว่ามัธยมศึกษาและปริญญาตรี มีอาชีพรับจ้าง มีสถานภาพสมรส สมาชิกในครัวเรึอนระหว่าง 3-5 คน รายใด้น้อยกว่า 10.000 บาทต่อเดึอน ค่าใช้จ่ายทั้งครอบครัวระหว่าง 10.001-20.000 บาทต่อเดือน เมื่อพิจารณาในภาพรวม พบว่า ปัจจัยส่วนประสมการตลาดด้านการจัดจำหน่าย ด้านผลิตภัณฑ์ด้านการส่งเสริมการตลาด และด้านราคามีอิทธิพลต่อการ ขึ้อยาจากร้านขายยาแผนปัจจุบันในระดับมาก (2) ปัจจัยส่วนบุคคลด้านเพศมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรบการซื้อยาในด้าน เหตุผลในการให้บริการร้านขายยา ด้านอายุมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการชึ้อยาในด้านผลกระทบจากระยะทางในการ เดินทางไปซื้อยา ด้านวุฒิการศึกษามีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการซื้อยาในด้านความถี่ในการซื้อยา ผลกระทบจากระยะทาง ในการเดินทางไปซื้อยา บุคคลที่ขายยาในร้านขายยา ประเภทของร้านขายยาที่เลึอกใช้บริการและสิ่งที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจ ซื้อยา (3) ปัจจัยส่วนประสมการตลาดด้านผลิตภัณฑ์มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการซื้อยาในด้านประเภทของร้านขายยาที่ เลือกให้บริการ บุคคลที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อยา ความถี่ในการซื้อยา และบุคคลที่ขายยาในร้านขายยาทีผู้บริโภคมัก ติดต่อด้วย ด้านราคามีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการซื้อยาในด้านเหตุผลในการให้บริการร้านขายยา และบุคคลที่ขายยาในร้าน ขายยา ด้านการจัดจำหน่ายมีความสัมพันธ์ภับพฤติกรรมการซื้อยาในด้านประเภทของร้านขายยาที่เลือกใช้บริการ ด้านส่งเสริม การตลาดมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการขึ้อยาในด้านเหตุผลในการใช้บริการร้านขายยา ประเภทของร้านขายยาที่เลึอกใช้ บริการ และบุคคลที่ขายยาในร้านขายยาที่ผู้บริโภคมักติดต่อด้วย และ (4) ปัญหาที่ผู้บริโภคพบมากที่สุดในการซื้อยาจากร้านขาย ยาแผนปัจจุบันในจังหวัดกระบี่คึอ ยาขนิดเดียวกันแต่ละร้านขายราคาไม่เท่ากันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectร้านขายยา--ไทย--กระบี่th_TH
dc.subjectพฤติกรรมผู้บริโภค--ไทย--กระบี่th_TH
dc.titleปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการซื้อยาจากร้านขายยาแผนปัจจุบันของผู้บริโภคในจังหวัดกระบี่th_TH
dc.title.alternativeMarketing mix factors affecting consumers behavior on drug purchasing from drugstore in Krabi Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to: (1) study marketing mix factors affecting army purchasing behavior from drugstores; (2) find relationship between the personal factors drug purchasing behavior from drugstores; (3) find relationship between marketing mix factors and drug purchasing behavior from drugstores; (4) st, iy consumer s’ problems on drug purchasing behavior from drugstores in Krabi Province. This research was made by survey method. The drugstores were randomly selected half of drugstores from each district, totally 55 drugstores from 104 drugstores. The population were Thai people who bought medicines from drugstore in Krabi Province. There hundred eighty-five samples were selected by accidental sampling of 7 samples per drugstore. The research tool was a questionnaire with reliability value of 0.909 .The statistics used in the research analysis included percentage,mean,standard deviation and Chi-square test. The results showed that: (1) the majority of consumers were women in Krabi Province, aged of 21-30 years old, had education lower than secondary school and Bachelor degree, worked as employee, married, had 3-5 members in family, monthly income less than 10,000 baht and family’s monthly between 10,001 and 20,000 overall marketing mix factors had influenced expenditure on drug purchasing behavior from drugstores at the high level; (2) the personal factors in gender showed relationship to drug purchasing behavior with reason of receiving service from drugstores, age showed relationship to drug purchasing behavior of distance impact from home to drugstore, education showed relationship to drug purchasing behavior of purchasing frequency, distance impact to purchase drugs, drug sellers, dragstore types and media showed relationship to drug purchasing decision; (3) the marketing mix factors in product showed relationship to drug purchasing behavior of drugstore type decision, influencing persons, frequency of drug purchasing and drug sellers in drugstores where consumers needed to contact. Price showed relationship to drug purchasing behavior with reason of receiving reason from drugstores and drag sellers. Price showed relationship to drug purchasing behavior of drugstore type which consumers selecting service. Marketing promotion showed relationship to drug purchasing behavior with reason of receiving service from drugstores, selected drugstore type and drug sellers in drugstores where consumers needed to contact; and (4) the most consumers’ problem from drugstores in Krabi Province was same drag but different in priceen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
108664.pdfเอกสารฉบับเต็ม6.05 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons