Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5887
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรรณวิภา เมืองถํ้า, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorจิรพัฒน์ ลิ้มพิพัฒน์ธน, 2513- ผู้แต่ง.th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-05-09T03:40:01Z-
dc.date.available2023-05-09T03:40:01Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5887-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาถึงแนวคิด ทฤษฎี และหลักเกณฑ์ของกฎหมายเกี่ยวกับการทํางานของผู้พ้นโทษในการสมัครงาน เพื่อนํามาวิเคราะห์ปัญหา เพื่อหาแนวทางการแก้ไขปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวข้องให้เหมาะสมต่อไป การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยวิธีการวิจัยทางเอกสาร โดยใช้วิธี การศึกษาจากเอกสาร ประกอบด้วยเอกสารที่เกี่ยวข้องทางวิชาการ ตํารา บทความ รายงานวิชาการต่าง ๆ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ บทบัญญัติกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ไม่ว่าจะเป็นตัวบทกฎหมายของประเทศไทยและต่างประเทศ เพื่อนํามาวิเคราะห์สังเคราะห์ข้อมูลเพื่อนําไปสู่ผลการวิจัย ผลการศึกษาพบว่ายังมีข้อบกพร่องของกฎหมายซึ่งมีลักษณะของการเลือกปฏิบัติที่ไม่เป็นธรรมและละเมิดสิทธิขั้นพื้นฐานของบุคคลที่เจาะจงเฉพาะกลุ่มบุคคลผู้พ้นโทษในการทํางาน ซึ่งทําให้กลุ่มบุคคลเหล่านี้ไม่มีโอกาสประกอบอาชีพสุจริต ถูกปิดกันเพราะผลของกฎหมายต้องหวนกลับไป กระทําผิดซํ้าจนเกิดปัญหาอาชญากรรมซํ้าซาก เห็นควรให้มีการแก้ไขปรับปรุงหรือยกเลิกกฎหมาย ที่หมดความจําเป็นและไม่สอดคล้องกับสภาพการณ์ในปัจจุบันในการประกอบอาชีพ โดยนําหลักเกณฑ์ และวิธีการแกไข้ฟื้นฟูหรือการคุมความประพฤติผู้กระทําผิดที่มีโทษไม่ร้ายแรงความผิดเล็กน้อยและเป็นการทําผิดครั้งแรก เพื่อเปิดโอกาสให้ศาลสามารถใช้ดุลพินิจในการรอการลงโทษหรือการคุมความประพฤติ ได้มากขึ้น เพื่อเป็นการหลีกเลี่ยงการจําคุกระยะสั้นทําให้เกิดมลทินแก่ผู้กระทําผิดที่ในกมลสันดานไม่มีความชั่วร้ายและเพื่อให้เป็นไปตามหลักนโยบายแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ กติกา ระหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง และปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ที่ประเทศไทยเป็นภาคีในการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectบุคคลผู้พ้นโทษ--การจ้างงานth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรมth_TH
dc.titleการคุ้มครองสิทธิผู้พ้นโทษให้มีงานทำth_TH
dc.title.alternativeThe protection of the ex-convicts rights to be employeden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this independent study is to study about the concepts, theories and the principle of laws relating to the employment of the ex-convicts in part of the job recruitment in order to analyze the problems and then seek for the solutions in amendment the law relating. /t This independent study is the qualitative research by means of the documentary research from documents consisting of academic papers, textbooks, articles, academic reports, electronic data, the relevant laws both in Thai and in foreign language for the purpose of analysis and synthesis into the research result. Result of the research: there are still the defects of the law which are the unfair discrimination and the violation of the rights that limited only the ex-convicts. These make such group of people no opportunities in earning his/her living legally. They are obstructed by the law so they need to back to be the recidivists until the repeat offense occurring. The researcher suggests amending and abolishing the law which are useless and inconsistent with the instant situation of the occupation by applying the rules and rehabilitation or probation method of the offender with the petty penalty and first offense so that the court can apply by discretion of the punishment suspense or the probation, the avoidance of the short term imprisonment which impure the offender with the evil mind and in accordance with the policy of national plan regarding the human rights, the international covenant and Universal Declaration of Human Rights which Thailand as a member in human rights protectionen_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_156619.pdfเอกสารฉบับเต็ม6.36 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons