Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5891
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุวีณา ตั่งโพธิสุวรรณ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorเชาว์ โรจนแสง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorกนกวรรณ อำนวยสาร-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-05-09T04:17:50Z-
dc.date.available2023-05-09T04:17:50Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5891-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติเป็นหลักการบริหารที่สำคัญ และสอดคล้องกับองค์กร ธุรกิจในประเทศไทย เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผล อย่างยั่งยืน นอกจากนี้ การมีส่วนร่วม ของพนักงานเป็นสิ่งสำคัญ ที่จะสามารถขับเคลื่อนให้องค์กรได้บรรลุวัตถุประสงค์ และตรงตาม เป้าหมายได้ดียิ่งขึ้น วัตถุประสงค์ในการทำวิจัยในครั้งนี้ (1) เพื่อศึกษาการนำเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ มาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาระบบห่วงโซ่อุปทานขององค์กร จากผู้ได้รับรางวัล (2) ศึกษาระดับการ มีส่วนร่วมของพนักงานและการนำไปปฏิบัติงาน ตามเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ (3) ศึกษาระดับ การมีส่วนร่วมของพนักงานในการพัฒนาระบบห่วงโซ่อุปทาน กลุ่มตัวอย่างที่เลึอกใช้เกณฑ์การเลือกแบบเฉพาะเจาะจง โดยเลือกจากองค์กรที่ประสบ ผลสำเร็จได้รับรางวัลคุณภาพ คือบริษัท ไทยอคิริคไฟเบอร์ จำกัด และ บริษัท ไทยคาร์บอนแบล็ค จำกัด (มหาชน) เครึ่องมือการวิจัยเป็นแบบสอบถามแบบมาตรประมาณค่าที่เกี่ยวกับการมีส่วนร่วม ของพนักงาน มีการทดสอบความเชี่อมั่นแล้วมีค่าเท่ากับ 0.96 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ส่วนการทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับความสัมพันธ์ใช้วิธีการ สหสัมพันธ์ของเพียรสัน และไคสแควร์ ผลการวิจัยพบว่า (1) ระดับการมีส่วนร่วมตามเกณฑ์รางวัลคุณภาพ พนักงานองค์กร เป้าหมายมีส่วนร่วมในการมุ่งเน้นลูกค้าและตลาดอยู่ในระดับมาก (2) พนักงานมีส่วนร่วมในการ พัฒนาระบบห่วงโซ่อุปทาน พบว่าพนักงานให้ความสำคัญกับลูกค้าภายใน และตอบสนองความ ต้องการ ของลูกค้าภายนอก อยู่ในระดับมาก (3) ระดับการมีส่วนร่วมของพนักงานตามเกณฑ์รางวัล คุณภาพแห่งชาติกับ ระดับการมีส่วนร่วมในการพัฒนาห่วงโซ่อุปทาน พบว่ามีความสัมพันธ์อยู่ใน ระดับมาก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.04th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.124-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectรางวัลคุณภาพแห่งชาติth_TH
dc.subjectการบริหารคุณภาพโดยรวมth_TH
dc.subjectห่วงโซ่อุปทานth_TH
dc.titleศึกษาการนำเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติมาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาระบบห่วงโซ่อุปทาน ของกลุ่มอฑิตยาเบอร์ล่าในประเทศไทยth_TH
dc.title.alternativeThe study of Thailand quality award criterias apply in developing supply chain management ; a case of Aditya Birla Group Thailandth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2007.124-
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
108672.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.34 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons