Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5902
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนวลเสน่ห์ วงศ์เชิดธรรมth_TH
dc.contributor.authorนรานันท์ ธาราวรรษth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-05-10T02:11:17Z-
dc.date.available2023-05-10T02:11:17Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5902en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความพึงพอใจของผู้รับบริการ ต่อการให้บริการตรวจสุขภาพ ของศูนย์มะเร็ง ลำปาง (2) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลส่วนบุคคลกับความพึงพอใจของการบริการโดยรวม (3) นำเสนอข้อเสนอแนะแก่บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อวางแผนการพัฒนาการบริการให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นงานวิจัยนี้เก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง คือ ผู้รับบริการที่มาตรวจ สุขภาพ ณ แผนกผู้ป่วยนอก ศูนย์มะเร็ง ลำปาง จำนวน 400 ราย ในช่วงเดีอน มกราคม - กุมภาพันธ์ 2550 เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น การวิเคราะห้ข้อมูล ใช้การแจกแจงความถี่ คำร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความสัมพันธ์เพียร์ลันไคสแควร์ผลการวิจัย พบว่า (1) ความพึงพอใจของผู้รับบริการต่อการให้บริการตรวจสุขภาพของศูนย์มะเร็ง ลำปาง โดยรวมทุกด้านอยู่ในระดับมาก (2) ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลส่วนบุคคลกับความพึงพอใจของการบริการโดยรวม พบว่า อาชีพ มีความสัมพันธ์กันที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 สำหรับเพศ อายู สถานภาพ ระดับการศึกษา รายได้เฉลี่ยต่อเดึอน สิทธิที่ใช้ใน การรับการรับบริการ การเคยมาตรวจสุขภาพ และจำนวนครั้งที่มารับบริการ ไม่มีความสัมพันธ์กันที่ระดับนัยสำคัญทางสถิต 0.05 (3) ข้อเสนอแนะแก่บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อวางแผนการพัฒนาการบริการให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น มีจำนวนรวมทั้งหมด 15 ข้อ ได้แก่ ด้านการให้บริการของเจ้าหน้าที่ จำนวน 2 ข้อ และด้านการบริการ จำนวน 13 ข้อth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.462en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectศูนย์มะเร็งลำปาง--ความพอใจของผู้ใช้บริการth_TH
dc.subjectการตรวจสุขภาพth_TH
dc.titleความพึงพอใจของผู้รับบริการตรวจสุขภาพของศูนย์มะเร็ง ลำปางth_TH
dc.title.alternativeSatisfaction of health check up at Lampang Cancer Centeren_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2007.462-
dc.identifier.urlhttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.462en_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe aims of this research were : (1) to study patient satisfaction to health check-up services of Lampang Cancer Center and (2) to study correlation between personal data and patient’s satisfaction of overall services and (3) to present the advice for the person and the department in order to planning develop the services have more effective. This research was done from purposive sampling of 400 patient who visited the out-patient department at Lampang Cancer Center between January and Febuary in 2007. The instrument used in the research, was a questionnaire which the researcher made Frequency distribution, mean, standard deviation, and Person Chi - square were used in data analysis. The research results found that : (1) patient’s satisfaction overall to health check-up sendees of Lampang Cancer Center was at the high Level and (2) correlation between personal data and patients’ overall satisfaction was found at the statistically significant level of 0.05. Sex, age, status, education, salary, right of receiving service, heath check-up in the past, and number of visiting the Center were not correlation with patients’ satisfaction at the statistically significant level of 0.05 and (3) the advice for the person and the department in order to planning develop the services had more effective. It was overall 15 topics that were the officer’ service was amount of 2 topics and the service was amount of 13 topicsen_US
dc.contributor.coadvisorอัจฉรา โพธิ์ดีth_TH
dc.contributor.coadvisorเสาวภา มีถาวรกุลth_TH
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
108673.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.04 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons