Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5922
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปริชาติ ดิษฐกิจ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสัจจา บรรจงศิริ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวรากร ดีน้อย, 2524--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-05-10T06:43:54Z-
dc.date.available2023-05-10T06:43:54Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5922-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (การจัดการการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2559th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สมบัติของวัสดุปลูกผักกาดหอมคอส 2) ผลของวัสดุปลูกต่อการงอกของเมล็ดผักกาดหอมคอส 3) ผลของวัสดุปลูกต่อการเจริญเติบโตของผักกาดหอมคอสที่ปลูกในระบบ NFT ผลการทดลองพบว่า 1) วัสดุปลูกทุกชนิดมีสมบัติทางกายภาพแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญยิ่ง (p≤0.01) แกลบดำและขุยมะพร้าวมีค่าความหนาแน่นรวม (0.21 และ 0.08 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร) ความพรุนรวม (79.53 และ 90.06 เปอร์เซ็นต์) ความสามารถในการอุ้มนํ้า (66.50 และ 74.38 เปอร์เซ็นต์) และปริมาณช่องว่างของอากาศ (13.03 และ 15.69 เปอร์เซ็นต์) ที่เหมาะสมสำหรับใช้เป็นวัสดุปลูก ซึ่งวัสดุปลูกทั้งสองชนิดมีค่าความหนาแน่นและปริมาณช่องว่างของอากาศอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน แต่มีค่าความพรุนรวมและความสามารถในการอุ้มนํ้าสูงกว่า โดยเกณฑ์มาตรฐานของค่าความหนาแน่นรวม ความพรุนรวม ความสามารถในการอุ้มนํ้า และปริมาณช่องว่างของอากาศ เท่ากับ 0.15-0.5 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร 60-75 เปอร์เซ็นต์ 35-50 เปอร์เซ็นต์ และ 10–20 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ 2) เปอร์เซ็นต์การงอกของเมล็ดผักกาดหอมคอสที่เพาะในขุยมะพร้าว 7 และ 14 วันหลังเพาะเมล็ด มีเปอร์เซ็นต์การงอกสูงที่สุด เท่ากับ 76.40 และ 98.61 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ แตกต่างกันกับวัสดุปลูกอื่นอย่างมีนัยสำคัญยิ่ง (p≤0.01) 3) การเจริญเติบโตของต้นผักกาดหอมคอสในระบบ NFT พบว่า ผักกาดหอมอายุ 21 และ 28 วันหลังเพาะเมล็ดที่ปลูกในขุยมะพร้าว มีความสูงต้น ขนาดทรงพุ่ม จำนวนใบ นํ้าหนักสดต้น และนํ้าหนักแห้งต้นมากที่สุด และมีความแตกต่างกับวัสดุปลูกอื่นอย่างมีนัยสำคัญยิ่ง (p≤0.01) ส่วนผักกาดหอมคอส อายุ 35 วันหลังจากเพาะเมล็ดที่ปลูกในขุยมะพร้าวมีความสูงของต้นมากที่สุดเท่ากับ 40.27 เซนติเมตร และมีความแตกต่างกับวัสดุปลูกอื่นอย่างมีนัยสำคัญยิ่ง (p≤0.01) ส่วนการเจริญเติบโตทางด้านความยาวราก ขนาดทรงพุ่ม จำนวนใบ นํ้าหนักสด และนํ้าหนักแห้งพบว่าไม่แตกต่างกันทางสถิติ (p>0.05) เช่นเดียวกันกับผักกาดหอมคอส อายุ 42 วันหลังเพาะเมล็ดในทุกวัสดุปลูกที่การเจริญเติบโตไม่แตกต่างกันทางสถิติ (p>0.05) ในทุกๆด้าน แต่ขุยมะพร้าวยังคงมีนํ้าหนักสดและนํ้าหนักแห้งสูงที่สุดเท่ากับ 204.28 และ 18.25 กรัมตามลำดับth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2016.163-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectผักกาดหอมคอส--การปลูกth_TH
dc.subjectวัสดุปลูกพืชth_TH
dc.titleผลของวัสดุปลูกต่อการเจริญเติบโตของผักกาดหอมคอสในระบบ Nutrient Film Techniqueth_TH
dc.title.alternativeEffect of growing media on growth of Cos Lettuce (Lactuca sativa L. var. romana) in Nutrient Film Techniqueen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2016.163-
dc.degree.nameเกษตรศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were: to study 1) the properties of growing media; 2) the effects of growing media on the lettuce seed germination; and 3) the effect of growing media on plant height, root length, plant width, number of leaves, fresh and dry weight of lettuce grown in Nutrient Film Technique (NFT) system. The study of the effect of growing media on growth of lettuce (Lactuca sativa L. var. romana) grown in Nutrient Film Technique (NFT) consisted of 2 experiments: 1) the study of the properties of growing media and the effects of growing media on seed germination; and 2) the study of the effects of growing media on the growth of Cos lettuce in NFT systems. The experimental design was Completely Randomized Design (CRD) consisting of 5 treatments: sponge cube, perlite + vermiculite (3:1), rice hull, rice husk charcoal and coconut coir dust, with 3 replications. The experiment was conducted during June 2016 - August 2016. Data were subjected to ANOVA analysis and LSD method was conducted for mean separation when the significant difference was found. The results showed that 1) the properties of all growing media were significantly different (p≤0.01). Rice husk charcoal and coconut coir dust were eligible to be used as growing media. The bulk density, total porosity, water holding capacity, and air porosity of rice husk charcoal were 0.21 g/cm3, 79.53 %, 66.50% and 13.03 %, respectively. The bulk density, total porosity, water holding capacity, and air porosity of coconut coir dust were 0.08 g/cm3 90.06 %, 74.38 % and 15.69 %, respectively while the standard of growing media bulk density, total porosity, water holding capacity, and air porosity are 0.15-0.5 g/cm3, 60-75%, 35-50% and 10–20% respectively. 2) The coconut coir dust growing medium resulted in the significantly (p≤0.01) highest germination rate of lettuce seed at 76.40 and 98.61 % at 7 and 14 days after seeding, respectively. 3) The Cos lettuce grown in coconut coir dust by NFT system had the significantly highest height, plant canopy, leaf number, fresh and dry weight at 21 and 28 days after seeding (p≤0.01). At 35 days after seeding it had the significantly highest height. There were no statistically significant differences between treatments in plant height, root length, plant width, number of leaves, fresh and dry weight at 42 days after seeding (p>0.05) but the lettuce grown in coconut coir dust had the highest fresh and dry weight at 204.28 and 18.25 g, respectively.en_US
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
153286.pdfเอกสารฉบับเต็ม7.34 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons