Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5928
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเฉลิมพงศ์ มีสมนัยth_TH
dc.contributor.authorมุกดา ต่ายเขียวth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-05-10T07:23:42Z-
dc.date.available2023-05-10T07:23:42Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5928-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารรัฐกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ปัจจัยที่มีผลต่อการโอนและลาออกของข้าราชการกรมสรรพากร (2) ปัจจัยที่เป็นแรงดึงดูดจากภายนอกหน่วยงานที่ทำให้ข้าราชการกรมสรรพากรโอนและลาออกจากกรมสรรพกร (3) แนวทางและวิธีการธำรงรักษาบุคลากรของกรมสรรพากรที่มีความรู้ความสามารถการวิจัยครั้งนี้ศึกษาจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นข้าราชการกรมสรรพากรที่ได้โอนและลาออกจากกรมสรรพากร ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2547 จนถึงวันที่ 31 กรกฎาคม 2549 จำนวน 255 คน จาก ทั้งหมด 705 คน เครื่องมือที่ใช์ไนการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามที่สร้างขึ้นใหม่ โดยมีค่าความเที่ยงตรงตามเนี้อหาและค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.93 และ 0.86 ตามลำดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ให้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิสหสัมพันธ์เพียรสัน การทดสอบทีการทดสอบเอฟ่ การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว การวิเคราะห์การถดถอยพหุคุณผลการวิจัยพบว่า (1) ปัจจัยที่มีผลต่อการโอนและลาออกของข้าราชการกรมสรรพากรได้แก่ลักษณะงานในความรับผิดชอบ ค่าตอบแทนและผลประโยชน์เกื้อกูล ความต้องการกลับภูมิลำเนาการประเมินผลงาน ระบบการบริหารงาน สภาพการปฏิบัติงาน ความก้าวหน้าจากการปฏิบัติงาน และ ภาพลักษณ์และชื่อเสียงขององค์กรตามลำดับ (2) ปัจจัยที่เป็นแรงดึงดูดจากภายนอกหน่วยงานที่ทำให้ข้าราชการกรมสรรพากรโอนและลาออกจากกรมสรรพากร ได้แก่ สภาพการปฏิบัตงาน ลักษณะงานในความวรับผิดชอบ ความต้องการกลับภูมิลำเนาระบบการบริหารงาน การประเมินผลงาน ค่าตอบแทนและ ผลประโยชน์เกื้อกูล ความก้าวหน้าจากการปฎิบัติงาน และภาพลักษณ์และชื่อเสียงขององค์กรตามลำดับ (3) แนวทางและวิธีการธำรงรักษาบุคลากรของกรมสรรพากรที่มีความรู้ความสามารถได้แก่ การปรับปรุง ด้านการประเมินผลงาน ด้านสวัสดิการหรือผลประโยชน์ การจัดกิจกรรมพิเศษเพื่อให้เกิดความเป็นนํ้าหนึ่งใจเดียวกัน การปรับปรุงระบบงาน สนับสนุนให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการคิด ตัดสินใจ และรับผิดชอบ ร่วมกัน ผู้บริหารควรยึดมั่นในความซื่อสัตย์สุจริตในการทำงานอย่างแท้จริงโดยไม่เป็นเครื่องมือแก่นักการเมืองth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2008.399en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectกรมสรรพากร--ข้าราชการ--การลาออกth_TH
dc.subjectกรมสรรพากร--ข้าราชการ--การย้ายth_TH
dc.titleปัจจัยที่ส่งผลต่อการโอน และการลาออกของข้าราชการกรมสรรพากรth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting the transfer and resignation of civil servants in Revenue Departmenten_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2008.399-
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research aimed to study (1) the factors affecting the transfer and resignation of civil servants in Revenue Department (2) the external pulling factors affecting the transfer and resignation of civil servants in Revenue Department (3) the guidelines and appropriate approach to maintain capable and knowledgeable civil servants of Revenue Department. Research sample consisted of 255 civil servants who transferred and resigned from the office since January 1, 2004 to July 31, 2006. Instrument used was questionnaire developed by researcher with 0.86 level of validity and 0.93 level of reliability. Statistical tools employed were percentage, mean, standard deviation, Pearson’s Product Moment Coefficient, t-test, F-test, one-way ANOVA and multiple regression. The findings were as followings : (1) factors affecting the transfer and resignation of civil servants in Revenue Department were characteristics of job responsible, salary and welfare, needs to return to hometown, performance appraisal, administrative system , work condition, advancement opportunity, organization image and reputation, respectively (2) external pulling factors affecting the transfer and resignation of civil servants in Revenue Department were work condition, characteristics of job responsible, needs to return to hometown, administrate system. Performance appraisal, salary and welfare, advancement opportunity, organization image and reputation, respectively (3) guidelines and approach to maintain capable and knowledgeable civil servants of Revenue Department were that the improvement in performance appraisal together with the improvement in salary and welfare provision, the arrangement of special activities to enhance cohesiveness, the improvement of administrative system, the supporting of participative decision making with joint responsibility, moreover, the executives should adhere sincerely to honesty while avoiding being politicians’ apparatus at the same time.en_US
dc.contributor.coadvisorไตรรัตน์ โภคพลากรณ์th_TH
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
108681.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.9 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons