Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/593
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พาณี สีตกะลิน | th_TH |
dc.contributor.author | กังสดาล สุทธวิรีสรรค์, 2505- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-08-13T07:27:41Z | - |
dc.date.available | 2022-08-13T07:27:41Z | - |
dc.date.issued | 2546 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/593 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ส.ม.(บริหารโรงพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช, 2546 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยเชิงสำรวจครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) วิเคราะห์บรรยากาศองค์การตามการรับรู้ของบุคลากรโรงพยาบาลกำแพงเพชรทั้งรายด้านและในภาพรวม (2) เปรียบเทียบความแตกต่างของบรรยากาศองค์การแยกตามลักษณะประชากร และ (3) เปรียบเทียบความแตกต่างของบรรยากาศองค์การแยกตามลักษณะหน้าที่ในการปฏิบัติงาน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเป็นบุคลากรที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลกำแพงเพชร จำนวน 250 คน ที่ได้มาจากการสุ่มเป็นระบบในแต่ละชั้นภูมิ เครื่องมือวิจัยเป็นแบบสอบถามข้อมูลด้านลักษณะประชากร ลักษณะหน้าที่ในการปฏิบัติงาน และแบบสอบถามบรรยากาศองค์การ ของลิทวินและสตรีงเจอร์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าร้อยละ ค่าพิสัย ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบความแตกต่างด้วยการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว การวิเคราะห์ผลต่างนัยสำคัญ การทดสอบครสคัล-วัลลิส การทดสอบแมนวิทนีย์ ยู และการทดสอบทีแบบกลุ่มที่เป็นอิสระต่อกัน ผลการวิจัยพบว่า (1) บุคลากรมีการรับรู้บรรยากาศองค์การในการปฏิบัติงานทั้งในระดับ รายด้านและในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง (2) บุคลากรที่มีลักษณะประชากรด้านอายุ สถานภาพสมรส และระยะเวลาในการปฏิบัติงานแตกต่างกันมีการรับรู้บรรยากาศองค์การแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยพบว่ากลุ่มที่มีอายุ 21-30 ปี มีการรับรู้บรรยากาศองค์การสูงกว่ากลุ่มที่มีอายุ 31-40 ปี และกลุ่มอายุ 41-50 ปี กลุ่มที่มีสถานภาพโสดมีการรับรู้บรรยากาศองค์การสูงกว่าคนที่มีสถานภาพสมรส และกลุ่มที่มีระยะเวลาในการปฏิบัติงาน 1-5 ปี มีการรับรู้บรรยากาศองค์การในภาพรวมและบรรยากาศองค์การด้านความรับผิดชอบของบุคลากร สูงกว่ากลุ่มที่มีระยะเวลาในการปฏิบัติงาน 6-10 ปี 11-15 ปี 16-20 ปี และ 20 ปีขื้นไป อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนบุคลากรที่มีลักษณะ ประชากรด้านเพศ ระดับการศึกษา ที่แตกต่างกันมีการรับรู้บรรยากาศองค์การไม่แตกต่างกัน ยกเวันเพศชายและเพศหญิงที่มีการรับรู้บรรยากาศองค์การด้านโครงสร้างองค์การแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และบุคลากรที่มีระดับการศึกษาแตกต่างกันมีการรับรู้บรรยากาศองค์การด้านความอบอุ่นแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (3) บุคลากรที่มีลักษณะหน้าที่ในการปฏิบัติงานตามด้านกลุ่มภารกิจ ในกลุ่มผู้ปฏิบัติกับกลุ่มผู้บริหาร และกลุ่มวิชาชีพกับกลุ่มไม่ใช่วิชาชีพ มีการรับรู้บรรยากาศองค์การไม่แตกต่างกันทางสถิติ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2003.84 | - |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Reformatted digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | โรงพยาบาลกำแพงเพชร | th_TH |
dc.subject | บุคลากรโรงพยาบาล--ไทย--กำแพงเพชร | th_TH |
dc.title | บรรยากาศองค์การของโรงพยาบาลกำแพงเพชร | th_TH |
dc.title.alternative | Oganization climate of Kamphaengphet hospital | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2003.84 | - |
dc.degree.name | สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (บริหารโรงพยาบาล) | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this รนrvey research were (1) to analyze overall and each part of organizational climate as perceived by Kamphaengphet hospital personnel; (2) to compare the organizational climate regarding personal characteristics; and (3) to compare the organizational climate regarding job characteristics. The study sample consisted of 250 respondents working in the Kamphaengphet hospital. They were obtained by systematic stratified random sampling. The instruments were a questionnaire for collecting data of personal and job characteristics, and an organizational climate questionnaire developed by Litwin and Stringer. The data was analyzed by using percentage, range, mean, standard deviation, One Way ANOVA, Least Significant Difference, Kruskal-Wall is test, Mann-Whitney u test and Independent t-test. The results were as follows: (1) The overall and the each part of organizational climate as perceived by Kamphaengphet hospital personnel were at a moderate level. (2) There were significant differences at the 0.05 level in the organizational climate of the personal characteristic different groups regarding age, marital status and length of experience. It was found that 21-30 years old group has perceived higher organizational climate than 31-40 and 41-50 years old groups. The single personnel have perceived higher organizational climate than the married group. The 1-5 years of working experience group has perceived higher organizational climate than the group of 6-10, 11-15,15-20 and more than 20 years of working experience. The perceived organizational climate regarding the difference of sex and education level was no significant difference. But there were significant differences at the 0.05 level in the structure of organizational climate between male and female, and in the warmth of organizational climate regarding educational levels. (3) There was no significant difference in the perceived organizational climate regarding mission cluster as the practitioner and the leader groups, and the professional and non-professional groups | en_US |
dc.contributor.coadvisor | ทองหล่อ เดชไทย | th_TH |
Appears in Collections: | Health-Theses |
This item is licensed under a Creative Commons License