Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5968
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเสน่ห์ จุ้ยโต, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorชินรัตน์ สมสืบ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorจิรวรรณ วุฒิกลตระกูล-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-05-12T08:29:05Z-
dc.date.available2023-05-12T08:29:05Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5968-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารรัฐกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มึวัตถุประสงค์เพื่อ(1) ศึกษาความคิดเห็นของบุคลากรต่อการจัดการความรู้ของ สำนักงานสรรพากรภาค 6 (2) เปรียบเทียบความคิดเห็นของบุคลากรต่อการจัดการความรู้ของสำนักงาน สรรพากรภาค 6 โดยจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล ประชากรในการวิจัยครั้งนี้ คือ บุคลากรที่ปฏิบัติงานในสำนักงานสรรพากรภาค 6 และหน่วยงาน ในกำกับดูแล จำนวน 8 แห่ง ประกอบด้วยสำนักงานสรรหากรพื้นที่นครปฐม สำนักงานสรรพากรพื้นที่ สมุทรสาคร สำนักงานสรรพากรพื้นที่สมุทรสงคราม สำนักงานสรรพากรพื้นที่ราชบุรี สำนักงานสรรพากร พื้นที่กาญจนบุรี สำนักงานสรรพากรพื้นที่เพชรบุรี สำนักงานสรรพากรพื้นที่สุพรรณบุรี และ สำนักงาน สรรพากรพื้นที่ประจวบคีรีขันธ์ รวมจำนวน 303 คน เครื่องมีอที่ใช้เป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใด้ในการ วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบสมมุติฐานด้วยค่าทดสอบที และ ทดสอบค่าเอฟ ผลการวิจัยพบว่า (1) การจัดการความรู้ของบุคลากรโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง และเมื่อ พิจารณาระดับการปฐบัติการจัดการความรู้ขององค์กร ทั้ง 7 ด้าน ประกอบด้วย 1) การค้นหาความรู้ 2) การสร้างและแสวงหาความรู้ 3) การจัดความรู้ให้เป็นระบบ 4) การประมวลและกลั่นกรองความรู้ 5) การ เข้าถึงความรู้ 6) การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ 7) การเรียนรู้ อยู่ในระดับปานกลาง (2) การทคสอบ สมมุติฐานเกี่ยวกับความคิดเห็นของบุคลากรต่อการจัดการความรู้ที่มีเพศ และตำแหน่งงาน ที่แตกต่างกัน มี ความคิดเห็นต่อการจัดการความรู้แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยเพศชายมีการเรียนรู้ มากกว่า เพศหญิง ส่วนตำแหน่งงาน พบว่า ด้านการแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ ตำแหน่งเจ้าหน้าที่สรรพากร นักวิชาการสรรพากร เจ้าหน้าที่ตรวจสอบภาษี และนักวิชาการภาษี มีการแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้มากกว่า ตำแหน่ง นิดิกรและตำแหน่งงานอื่น ๆ และด้านการเรียนรู้ ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่สรรพากรและตำแหน่ง นักวิชาการสรรพากร มีการเรียนรู้น้อยกว่าตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ตรวจสอบภาษี และนักวิชาการภาษึ ส่วน เจ้าหน้าที่ตรวจสอบภาษีth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.479-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการบริหารองค์ความรู้th_TH
dc.titleปัจจัยที่ส่งผลต่อการจัดการความรู้ : กรณีศึกษาสำนักงานสรรพากร ภาค 6th_TH
dc.title.alternativeFactors affecting knowledge management : a case study of Regional Revenue Office 6th_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2007.479-
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research aimed to 1) study the opinions of Regional Revenue Office 6’s personnel on knowledge management; and 2) compare the opinions of Regional Revenue Office 6's personnel on knowledge management by personal factors. Population in this research was personnel of Regional Revenue Office 6 and other eight offices under its supervision which were Nakhon Pathom Revenue Office, Samut Sakhon Revenue Office, Samut Songkhram Revenue Office, Ratchaburi Revenue Office, Kanchanaburi Revenue Office, Phetchaburi Revenue Office, Suphan Buri Revenue Office, and Prachuap Khiri Khan Revenue Office, totally 303. Instrument used was questionnaire. Statistical tools employed were percentage, mean, standard deviation, t-test and F-test. Research result revealed that : 1) knowledge management of personnel in general was in medium level in all 7 aspects of knowledge management which were (1) knowledge mining, (2) knowledge building and searching, (3) systematic knowledge management, (4) knowledge processing and screening (5) knowledge accession, (6) knowledge sharing, and (7) knowledge learning ; and 2) hypothesis test on opinions of personnel on knowledge management showed that personnel with different gender and job positions had different opinions at .05 level of significance, male had learnt more knowledge than female; as for job positions, it was found that on knowledge sharing aspect: revenue officers, revenue technical officers, tax inspectors, and tax technical officers had more engagement on knowledge sharing activities than legal officers and officers in other positions; as for knowledge learning aspect, it was found that revenue officers and revenue technical officers had less involved in knowledge learning activities than tax inspectors and tax technical officersen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
108692.pdfเอกสารฉบับเต็ม6.43 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons