Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5974
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเฉลิมพงศ์ มึสมนัยth_TH
dc.contributor.authorพัชรี ปะนันโตth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-05-15T02:39:36Z-
dc.date.available2023-05-15T02:39:36Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5974en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารรัฐกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาการนำโครงการทางด่วนพนักงานธนาคารออมสินมาใช้ในการเลื่อนตำแหน่งพนักงานระดับหัวหน้างาน (ผู้บริหาร) ของธนาคารออมสิน (2) ศึกษาประสิทธิผลการนำโครงการทางด่วนพนักงานธนาคารออมสินมาใช้ในการบริหารงานบุคคลของธนาคารออมสิน และ (3) เพื่อนำเสนอถึงปัญหา อุปสรรค และแนวทางแก้ไข การนำโครงการทางส่วนพนักงานธนาคารออมสิน ที่นำมาใช้ในการเลื่อนตำแหน่งพนักงานระดับหัวหนัางาน (ผู้บริหาร) การวิจัยครั้งนี้ศึกษาจาก พนักงานของธนาคารออมสินจำนวน 662 คน กสุ่มตัวอย่าง จำนวน 249 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามที่ได้สร้างขึ้นและผ่านการตรวจสอบความ ตรงด้านเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ และมีค่าความเชื่อมั่นได้ 0.7892 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ช้อมูลได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรงาน การทดสอบท การทดสอบความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยโดย วิธีผลต่างนัยสำคัญ (แอลเอสดี) และการวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุ ในระดับความเชื่อมั่นที่ 0.05 ผลการวิจัยพบว่า (1) กลุ่มตัวอย่างมีความเห็นว่าการนำโครงการทางด่วนพนักงานธนาคาร ออมสินมาใช้ในการเลื่อนตำแหน่งพนักงานระดับหัวหน้างาน (ผู้บริหาร) ของธนาคารออมสินประสบผลสำเร็จในระดับปานกลาง (2) กสุ่มตัวอย่างมีความเห็นว่าการนำโครงการทางด่วนพนักงานเข้ามาใช้ในการเลื่อนตำแหน่งพนักงานระดับหัวหน้างาน (บริหาร) เกิดประสิทธิผลต่อการบริหารงานบุคคลของธนาคารในระดับปานกลางในทุกด้าน ได้แก่ ด้านสภาพแวดล้อมของโครงการ ด้านปัจจัยในการดำเนิน การของโครงการ ด้านกระบวนการของโครงการ และด้านผลที่เกิดขึ้นของโครงการ (3) ปัญหาและอุปสรรคการนำโครงการทางด่วนพนักงานธนาคารออมสินมาใช้ในการเลื่อนตำแหน่งพนักงานระดับหัวหน้างาน (ผู้บริหาร) ของธนาคารออมสิน ได้แก่ การขาดการวางแผนในการดำเนินโครงการ การขาดกำหนดตำแหน่ง หลักเกณฑ์ และวิธีการในการสรรหาและคัดเลือก และไม่มีเกณฑ์ในการประเมินผลการปฏิบัติงานภายหลังการเข้าสู่ตำแหน่งของพนักงานในโครงการ ชื่งควรแก้ไขโดยทำการวางแผนดำเนินโครงการ ทำหนดหลักเกณฑ์ในการสรรหา คัดเลือก และการประเมินผลที่ชัดเจนth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.105en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectโครงการทางด่วนพนักงานธนาคารออมสิน--การประเมินth_TH
dc.subjectโครงการ--การประเมินth_TH
dc.titleการประเมินโครงการทางด่วนพนักงานธนาคารออมสินth_TH
dc.title.alternativeEvaluation of government Saving Bank's fast track projectth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2007.105-
dc.identifier.urlhttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.105th_TH
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to (1) study the application of Government Savings Bank’s Fast Track Project in supervisors (executives) promotion (2) study the effectiveness of the application of Fast Track Project in Human Resource Management, (3) observe the problems and obstacles and recommend appropriate solutions to solve the problems in using Fast Track for promotion purpose. Population in this research was 662 Government Savings Bank’s employees from which 249 samples were randomized. Instrument used was questionnaire examined by experts for validity, with 0.7892 level of reliability. Statistical tools employed were percentage, mean, standard deviation, t-test, LSD, and stepwise regression with 0.05 level of confidence. Result of the research showed that (1) the application success of Fast Track Project in supervisors (executives) promotion was in medium level (2) the application of Fast Track Project in supervisors (executives) promotion affected the effectiveness of Human Resource Management in all aspects which were project environment, project implementation factors, project process, and project result (3) problems and obstacles of the application of Fast Track Project in supervisors (executives) promotion were:lack of project application planning, lack of position prescription, criteria, and recruitment and selection procedures, including lack of performance appraisal criteria for those project participants who entered the positions ; solutions were: project application planning should be developed, together with apparent criteria in recruitment and selection, and performance appraisal activities.en_US
dc.contributor.coadvisorสุรสิทธิ์ รุ่งเรืองศิลป์th_TH
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
108703.pdfเอกสารฉบับเต็ม9.08 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons