Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5978
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเบญจมาศ อยู่ประเสริฐ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสินีนุช ครุฑเมือง แสนเสริม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวาสนา พลายสา, 2535--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-05-15T03:08:49Z-
dc.date.available2023-05-15T03:08:49Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5978-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2559th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) สภาพพื้นฐานทางสังคมและเศรษฐกิจของเกษตรกร (2) ความรู้ในการจัดการศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสานในการผลิตข้าวของเกษตรกร (3) ความเป็นประโยชน์และความยุ่งยากของการจัดการศัตรูข้าวโดยวิธีผสมผสาน (4) การจัดการศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสานในการผลิตข้าวของเกษตรกร (5) ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสานในการผลิตข้าวของเกษตรกร และ (6) ปัญหาและข้อเสนอแนะในการจัดการศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสานในการผลิตข้าวของเกษตรกร ผลการวิจัย พบว่า (1) เกษตรกรมีอายุเฉลี่ย 54.04 ปี โดยส่วนใหญ่เป็นเพศชาย จบการศึกษาระดับประถมศึกษา มีจำนวนสมาชิกในครัวเรือนเฉลี่ย 3.38 คน ได้รับข่าวสารจากสื่อบุคคลเฉลี่ย 9.17 ครั้ง/ปี และจากสื่อสิ่งพิมพ์เฉลี่ย 6.94 ครั้ง/ปี ได้รับประสบการณ์การผ่านการฝึกอบรมเฉลี่ย 6.02 ครั้ง มีการติดต่อกับเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรเฉลี่ย 10.31 ครั้ง/ปี มีรายได้ในภาคเกษตรเฉลี่ย 296,464.96 บาท มีขนาดพื้นที่ถือครองทางการเกษตรเฉลี่ย 22.83 ไร่ และ มีจำนวนแรงงานในครอบครัวเฉลี่ย 2.42 คน (2) เกษตรกรมีระดับความรู้ในการจัดการศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสานในการผลิตข้าวอยู่ในระดับมาก (3) ความเป็นประโยชน์ของการจัดการศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสานอยู่ในระดับมากที่สุดและความยุ่งยากในการปฏิบัติในการจัดการศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสานอยู่ในระดับน้อยที่สุด (4) เกษตรกรมีระดับปฏิบัติในการจัดการศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสานในการผลิตข้าว เฉลี่ย 21.75 ข้อ (5) จากการทดสอบสมมติฐาน พบว่า ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการจัดการศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสานในการผลิตข้าว อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 คือ การติดต่อกับเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตร ความรู้ของเกษตรกร ความเป็นประโยชน์ของการจัดการศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสาน ประสบการณ์การผ่านการฝึกอบรม และขนาดของพื้นที่การถือครองทางการเกษตร (6) ภาพรวมปัญหาเกี่ยวกับการจัดการศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสานในการผลิตข้าวของเกษตรกรอยู่ในระดับมาก ได้แก่ ปัญหาด้านการสนับสนุนของเจ้าหน้าที่ ทั้งนี้เกษตรกรได้เสนอแนะให้มีการวางแผนแนวทางการส่งเสริมการให้ความรู้อย่างเหมาะสมทันต่อสถานการณ์การระบาดของศัตรูพืชและมีการลงพื้นที่ติดตามการดำเนินงานอยู่เสมอth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2016.156-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectศัตรูพืช--การควบคุมth_TH
dc.subjectศัตรูพืชth_TH
dc.subjectยากำจัดศัตรูพืชth_TH
dc.subjectแมลงศัตรูพืชth_TH
dc.subjectข้าว--การผลิตth_TH
dc.titleปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสานในการผลิตข้าวของเกษตรกรในตำบลแหลมบัว อำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐมth_TH
dc.title.alternativeFactors related to integrated pest management of rice production by farmers in Laembua Sub-district, Nakhon Chaise District, Nakhon Pathom Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2016.156-
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study (1) socio-economic condition by farmers, (2) knowledge related to integrated pest management of rice production by farmers, (3) advantage and complicatedness of integrated pest management of rice production, (4) integrated pest management of rice production by farmers, (5) factors related to integrated pest management of rice production by farmers, (6) problems and suggestion for integrated pest management of rice production by farmers. The studied population composed of 259 rice farmers previously had attended the training on integrated pest management of rice production. The samples were selected from these farmers by using Taro Yamane’s Formula, a sample size of 157 persons was selected by simple random sampling. The instrument was interview form. Statistics employed were frequency, percentage, maximum value, minimum value, mean, standard deviation and stepwise multiple regression analysis. The following were research findings. (1) The average age of farmers was 54.04 years. Mostly, they were male and finished lower primary education. By average, they received updated information from individual media 9.17 times/year, from printed media 6.94 times/year, training experience 6.02 times/year and contact with agricultural extension staff 10.31 times/year. Their annual average income from agricultural sector was 296,464.96 baht. Their average possessory occupied land was 22.83 rai (1 rai = 1,600 m2) and their average number of labor in family was 2.42 persons. (2) Their acquired knowledge related to integrated pest management of rice production was at high level. (3) The advantage of integrated pest management of rice production was the most level whereas the complicatedness in rice enemy eradication by integrated pest management was at least level. (4) Their practice in rice enemy eradication by integrated pest management was at average 21.75 items. (5) The factors that had relationships at 0.05 statistical significance with the integrated pest management included contact with agricultural extension staff, farmers’ knowledge, advantage of integrated pest management, training experience and size of possessory occupied land. (6) Their overall problem related to integrated pest management in rice at high level was availability of support from staff. Suggestions by farmers were to plan guidelines’ extension of knowledge appropriately and outbreak of pests timely, and followed operation of fieldwork constantly.en_US
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
155136.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.96 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons