กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5983
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorอัจฉรา โพธิ์ดี, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorอัจฉรา จิตตลดากร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนิกร จรชื่น, 2530--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-05-15T04:05:58Z-
dc.date.available2023-05-15T04:05:58Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5983-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (การจัดการการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2559th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพพื้นฐานทางสังคมและเศรษฐกิจของเกษตรกร 2) สภาพการปลูกและการจำหน่ายข้าวโพดเลี้ยงสัตว์และลักษณะประจำพันธุ์ที่เกษตรกรต้องการ (3) พฤติกรรมการซื้อเมล็ดพันธุ์ 4) ปัจจัยส่วนประสมการตลาดในการตัดสินใจซื้อเมล็ดพันธุ์ 5) ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการซื้อเมล็ดพันธุ์ และ 6) ปัญหาและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการซื้อและการใช้เมล็ดพันธุ์ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ของเกษตรกร ผลการศึกษาพบว่า 1) เกษตรกรส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุเฉลี่ย 48 ปี จบการศึกษาระดับประถมศึกษา ประสบการณ์ในการปลูกเฉลี่ย 18 ปี และปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เป็นอาชีพหลัก 2) ที่ดินที่ใช้ปลูกส่วนใหญ่เป็นของตนเอง ขนาดพื้นที่ปลูกเฉลี่ย 14 ไร่ และปลูกโดยใช้เครื่องปลูก ปริมาณการใช้เมล็ดพันธุ์เฉลี่ย 3.50 กิโลกรัมต่อไร่ ปริมาณผลผลิตเฉลี่ย 753.00 กิโลกรัมต่อไร่ ราคาขายผลผลิตที่กะเทาะเมล็ดเฉลี่ย 5.69 บาทต่อกิโลกรัม ลักษณะประจาพันธุ์ที่ต้องการมากที่สุดคือ ผลผลิตต่อไร่สูง 3) เมล็ดพันธุ์ที่ซื้อมากที่สุดเป็นของบริษัท ซินเจนทา ซีดส์ จำกัด การซื้อพิจารณาจากคุณภาพเป็นหลัก ปริมาณการซื้อเฉลี่ย 46.90 กิโลกรัม ระยะเวลาการซื้อก่อนปลูกน้อยกว่า 7 วัน แหล่งข้อมูลเกี่ยวกับเมล็ดพันธุ์ส่วนใหญ่มาจากป้ายโฆษณา ผู้มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อคือตนเอง แหล่งที่ซื้อคือร้านค้าปัจจัยการผลิต และซื้อด้วยเงินสด 4) ปัจจัยส่วนประสมการตลาดมีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อโดยรวมในระดับปานกลาง เมื่อจำแนกเป็นรายด้านพบว่า ด้านผลิตภัณฑ์และด้านการจัดจำหน่ายมีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อในระดับมาก ส่วนด้านราคาและด้านการส่งเสริมการตลาดอยู่ในระดับปานกลาง 5) ปัจจัยด้านสังคม เศรษฐกิจ การปลูก และการจาหน่ายผลผลิตมีผลต่อพฤติกรรมการซื้อเมล็ดพันธุ์ ทั้งนี้เกษตรกรจะคำนึงถึงสภาพพื้นที่ปลูกและวิธีการเก็บเกี่ยวก่อนการเลือกซื้อเมล็ดพันธุ์ให้เหมาะสม 6) ปัญหาที่เกษตรกรพบส่วนใหญ่คือ เมล็ดพันธุ์มีราคาสูง และขนาดบรรจุภัณฑ์ที่ให้เลือกซื้อมีน้อย ซึ่งข้อเสนอแนะคือเมล็ดพันธุ์ควรมีราคาที่ถูกลง และมีความหลากหลายของขนาดบรรจุภัณฑ์มากขึ้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectข้าวโพด--ไทย--เมล็ดพันธุ์.th_TH
dc.subjectพฤติกรรมผู้บริโภค--ไทย--พิษณุโลกth_TH
dc.titleพฤติกรรมการซื้อเมล็ดพันธุ์ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ของเกษตรกรในจังหวัดพิษณุโลกth_TH
dc.title.alternativeMaize seed buying behavior of farmers in Phitsanulok Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of the research were to study 1) the basic socio-economic conditions of maize farmers, 2) their maize growing and selling conditions and characteristics of maize varieties desired by farmers, 3) their maize seed buying behavior, 4) marketing mix factors that influenced maize seed buying decisions, 5) factors affecting maize seed buying behavior, and 6) problems and recommendations regarding the purchase and use of seed by farmers. This was a survey research. The study population consisted of 11,614 maize farmers in the districts of Nakhon Thai, Chat Trakan and Wat Bot in Phitsanulok Province. The minimum sample size was determined by Taro Yamane formula at 95% confidence level and 5 % error and 400 samples were selected by systematic random sampling. The research tool was a questionnaire. The statistics used to analyze the data were percentage, mean, standard deviation, and chi square. The results showed that 1) the majority of the farmers was male, average age 48 years, educated at primary school level, 18 years experience in maize production, and growing maize was their main career. 2) Most farmers used their own land, the average planted area was 14 rai (1 rai = 1,600 m2), and planted maize by planting machine. Average maize seed used was 3.50 kg/rai and average yield was 753.00 kg./rai. Average selling price of grain was 5.69 baht/kg. The characteristic of maize varieties most desired by farmers was high yield. 3) Most maize seed used was produced by Syngenta Seed Company. The buying decision for maize seed was made based on seed quality. Average quantity of seed bought was 46.90 kg. The buying time was less than 7 days before planting. The main source of seed information was billboards. The influential people involved in the buying decision was the farmers themselves. They bought seed at the agricultural manufacturing shops and paid by cash. 4) Overall, buying decision was influenced by marketing mix factors at a moderate level. The product and place influenced buying decisions at a high level, while price and promotion were at moderate level. 5) Factors of socio-economic conditions, growing and selling conditions affected maize seed buying behavior. Farmers also considered planting area conditions and harvesting method prior to purchasing maize seed, whether the purchased variety was appropriate for their conditions. 6) Their main problems were high maize seed price and few packaging size options. They suggested that the maize seed price should be cheaper and there should be more packaging sizes to choose from.en_US
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Agri-Theses

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
155141.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.74 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License Creative Commons