Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/598
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | บุญศรี พรหมมาพันธ์, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | ศศิกาญจน์ ทวิสุวรรณ, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | กิติกานต์ สารมาคม, 2518- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-08-13T07:55:34Z | - |
dc.date.available | 2022-08-13T07:55:34Z | - |
dc.date.issued | 2546 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/598 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม (การวัดและประเมินผลการศึกษา))--มหาวิทยามลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2546 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแบบสอบวินิจฉัยทักษะการอ่านคำภาษาไทย สำหร้บ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 สังกัดในอำเภอบรบือ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามหาสารคาม เขต 2 กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ของโรงเรียนในสังกัดในอำเภอบรปือ สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามหาสารคาม เขต 2 จำนวน 534 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบวินิจฉัยทักษะการอ่านคำภาษาไทย สถิติที่ใช้ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าความยาก ค่าอำนาจจำแนก ค่าความเที่ยง และค่าความตรง การวิจัยครั้งนี้ผลปรากฏว่าได้แบบสอบวินิจฉัยข้อบกพร่องทักษะการอ่านคำภาษาไทยทั้งหมด 6 ฉบับ แบบสอบฉบับที่ 1 การอ่านฅำที่มีอักษรควบ มีค่าความยาก ค่าอำนาจจำแนก ค่าความเที่ยง และค่าความตรง เท่ากับ .38-.80 , .22 - .72 , .92 และ.80-1.00 ตามลำดับ แบบทดสอบฉบับที่ 2 การอ่านคำที่มีตัวสะกดการันต์ และการอักษรนำ มีค่าความยาก ค่าอำนาจจำแนก ค่าความเที่ยง และค่าความตรง เท่ากับ .45-.78,.21 -.53,.91 และ.80- 1.00 ตามลำดับ แบบทดสอบฉบับที่ 3 การอ่านคำที่มีเสียงตัวสะกดในมาตราตัวสะกด มีค่าความยาก ค่าอำนาจจำแนก ค่าความเที่ยง และค่าความตรง เท่ากับ .24 - .79,.22-.60,.94 และ0.80- 1.00 ตามลำดับ แบบทดสอบฉบับที่ 4 การอ่านคำที่มีฤ และคำที่มี รร(ร หัน) มีค่าความยาก ค่าอำนาจจำแนก ค่าความเที่ยง และค่าความตรง เท่ากับ .22 - .72 1.21 - .60 1 .93 และ0.80-1.00 ตามลำดับ แบบทดสอบฉบับที่ 5 การอ่านคำที่ไม่มีสระอะ แต่ออกเสียง อะกึ่งเสียง มีค่าความยาก ค่าอำนาจจำแนก ค่าความเที่ยง และค่าความตรง เท่ากับ .25 - .75 , .23 - .66 , .90 และ0.80-1.00 ตามลำดับ แบบทดสอบฉบับที่ 6 การอ่านชักษรย่อ ชื่อบุคคล และตำแหน่ง มีค่าความยาก ค่าอำนาจ จำแนก ค่าความเที่ยง และค่าความตรง เท่ากับ .28-.60, .22-.40,.81 และ0.80-1.00 ตามลำดับ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2003.116 | - |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | การอ่านขั้นประถมศึกษา | th_TH |
dc.subject | ภาษาไทย--แบบทดสอบ | th_TH |
dc.title | การพัฒนาแบบสอบวินิจฉัยทักษะการอ่านคำภาษาไทยสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ในอำเภอบรบือสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามหาสารคาม เขต 2 | th_TH |
dc.title.alternative | The development of a Thai words reading diagnostic test for Prathom Suksa III pupils under in Boraua District under the Office of Mahasarakham educational Service Area, Zone 2 | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2003.116 | - |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this research was to develop Thai words reading skill diagnostic tests for Prathom Suksa ! Pupils in Borabue District under the office of Mahasarakham Educational Service Area, Zone 2 The research sample consisted of 534 Prathom Suksa ! Pupils in Borabue District under the office of Mahasarakham Educational Service Area, Zone 2. The research instruments were Thai words reading skill diagnostic tests. Statistical procedures for data analysis were the percentage, mean, standard deviation, difficulty index, discriminant index, reliability coefficient, and validity coefficient. Six diagnostic tests on Thai words reading skill were developed as results of this research. The First Diagnostic Test: Reading of Words with Combined Consonants had the difficulty indices ranging from .38 to .80; discriminant indices ranging from .22 to .70 ; reliability coefficient of .92; and validity coefficient ranging from .80 to 1.00. The Second Diagnostic Test: Reading of Words with Beginning and Mute Consonant Variation had the difficulty indices ranging from .45 to .78; discriminant indices ranging from .20 to .53; reliability coefficient of .90; and validity coefficients ranging from .80 to 1.00. The Third Diagnostic Test: Reading of Words with Ending Consonant Variation had the difficulty indices ranging from .24 to .79; discriminant indices ranging from .20 to .60; reliability coefficient of .94; and validity coefficients ranging from .80 to 1.00. The Fourth Diagnostic Test: Reading of Words with ‘Rue’ and ‘Rau’ as Vowels had the difficulty indices ranging from .20 to .72; discriminant indices ranging from .23 to .60; reliability coefficient of .93; and validity coefficient ranging from .80 to 1.00. The Fifth Diagnostic Test: Reading of Words without ‘A” Vowel but Must Be Semi-Pronounced had the difficulty indices ranging from .23 to .75; discriminant indices ranging from .20 to .66; reliability coefficient of .90; and validity coefficient ranging from .80 to 1.00. The Sixth Diagnostic Test: Reading of Abbreviations, name and Rank of Persons had the difficulty indices ranging from .28 to .60; discriminant indices ranging from .22 to .40; reliability coefficient of .81; and validity coefficient ranging from .80 to 1.00 | en_US |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
This item is licensed under a Creative Commons License