Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5994
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบำเพ็ญ เขียวหวาน, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสินีนุช ครุฑเมือง แสนเสริม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.contributor.authorนันทริยา สุวรรณล้อม, 2521--
dc.date.accessioned2023-05-15T06:52:02Z-
dc.date.available2023-05-15T06:52:02Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/5994-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2559th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) สภาพพื้นฐานส่วนบุคคล สังคมและเศรษฐกิจของเกษตรกร (2) สภาพการผลิตลำไยของเกษตรกร (3) การรับรู้ข้อมูลข่าวสารด้านการผลิตลำไย (4) ความพึงพอใจด้านองค์ประกอบ และความต้องการกิจกรรมที่เกิดขึ้นใน ศพก. (5) กระบวนการดำเนินงาน ปัจจัยที่เกี่ยวข้องในการดำเนินงาน ปัญหา และจุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส อุปสรรคของ ศพก. ผลการวิจัย พบว่า 1) สมาชิก ศพก. และผู้ใช้บริการ ศพก. ร้อยละ 55.0 และ 51.9 เป็นเพศชาย อายุเฉลี่ย 54.23และ 50.88 ปี ร้อยละ 60.0 และ 67.31 จบการศึกษาระดับประถมศึกษา จำนวนสมาชิกในครัวเรือนเฉลี่ย 3.85 และ 3.53 คน ร้อยละ 85.0 และ 66.3 เป็นสมาชิกสถาบันอื่น ร้อยละ77.5 และ 31.7 ไม่มีสถานะทางสังคม แรงงานในครัวเรือนเฉลี่ย 1.98 และ2.17 คน ร้อยละ 47.5 และ 39.42 ไม่มีแรงงานจ้าง ร้อยละ 75.0 และ 76.0 มีการกู้ยืม ร้อยละ 42.5 และ 51.0 ประกอบอาชีพหลักคือทำการเกษตร มีที่ดินทำสวนลำไย เฉลี่ย 4.01 และ 3.79 ไร่ ร้อยละ 80.0 และ 83.6 ไม่มีพื้นที่เช่า 2) มีประสบการณ์ทำสวนลำไย เฉลี่ย 10.85 และ 11.84 ปี ลำไยมีอายุเฉลี่ย 14.75 และ 14.52 ปี ร้อยละ 90.0 และ 39.4 มีบ่อบาดาลนํ้าตื้นส่วนตัว มีผลผลิตลำไยเฉลี่ย 1,403.75 และ 1,704.13 กก./ไร่ ร้อยละ 87.5 และ 83.7 จำหน่ายลำไยให้พ่อค้าคนกลาง ร้อยละ 62.5 และ 21.2 เคยประสบภัยแล้ง 3) แหล่งการรับรู้จากบุคคล คะแนนเฉลี่ย 2.93 และ 2.99 แหล่งการรับรู้จากกลุ่ม คะแนนเฉลี่ย 3.09 และ 3.37 แหล่งการรับรู้จากมวลชน คะแนนเฉลี่ย 2.68 และ 2.88 4) ความพึงพอใจด้านองค์ประกอบของ ศพก.ภาพรวมคะแนนเฉลี่ย 4.16และ 3.65 ความต้องการกิจกรรมถ่ายทอดความรู้เพิ่มเติม คะแนนเฉลี่ย 3.5 และ 3.38 ความต้องการการร่วมหุ้น คะแนนเฉลี่ย 3.35 และ 3.11 ความต้องการการจดทะเบียนวิสาหกิจชุมชน คะแนนเฉลี่ย 3.40 และ 3.07 ความต้องการสนับสนุนปัจจัยการผลิต คะแนนเฉลี่ย 4.13 และ 4.29 ความต้องการการได้รับความช่วยเหลือตามโครงการต่างๆ เป็นอันดับแรก คะแนนเฉลี่ย 4.15 และ 4.32 5) ศพก. มีกระบวนการดำเนินงานประกอบด้วย กระบวนการถ่ายทอดเทคโนโลยี กระบวนการให้บริการ และการบูรณาการการทำงาน ปัจจัยที่เกี่ยวข้องในการดำเนินงาน ได้แก่ ความรู้ ความเชี่ยวชาญของเจ้าของ ศพก. แปลงเรียนรู้ที่สามารถใช้ในการสาธิตได้อย่างแท้จริง หลักสูตรการเรียนรู้สามารถตอบโจทย์และประเด็นปัญหาในชุมชนได้ ฐานเรียนรู้สามารถปรับเปลี่ยนไปตามนวัตกรรมใหม่ๆ การให้ความสำคัญ เข้าร่วมกิจกรรมของกรรมการ ศพก. และสมาชิก การบูรณาการระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและองค์กรส่วนท้องถิ่น การสนับสนุนงบประมาณจากภาครัฐและนโยบายที่ต่อเนื่อง จุดแข็ง คือ เจ้าของ ศพก. มีความขยัน ใฝ่รู้ ศพก. อยู่ในชุมชนเข้าถึงง่าย จุดอ่อน คือ ทางเข้าแคบ ที่จอดรถไม่พอ โอกาส คือ ได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานภาคีและงบประมาณในการปรับปรุง ศพก. อุปสรรค คือ ขาดการบูรณาการระหว่างองค์กรส่วนท้องถิ่นและหน่วยงานภาคีth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectศูนย์ทรัพยากรการเรียนรู้th_TH
dc.subjectสินค้าเกษตร--ไทยth_TH
dc.subjectสินค้าเกษตร--ไทย--การผลิต.th_TH
dc.titleการพัฒนาศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร อำเภอป่าซาง จังหวัดลำพูนth_TH
dc.title.alternativeDevelopmental for the agricultural learning center in Pa Sang District, Lamphun Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study (1) the demographics of farmers in Pasang District, Lamphun Province; (2) longan production conditions in the study area; (3) sources of information about longan production that farmers were exposed to; (4) the satisfaction of Agricultural Learning Center (ALC) members and trainees and their demand for different activities; and (5) the ALC’s work process, factors that affected it, problems, strengths, weaknesses, opportunities and threats. The sample population consisted of 40 members of the Pasang District ALC in Lamphun Province and 104 farmers who participated in a training session to increase the productivity of farmers affected by drought in 2015/2016, chosen through simple random sampling. Data were collected using an interview form and statistically analyzed using computer software to calculate frequency, percentage, mean, maximum, minimum and standard deviation. In addition, a focus group discussion was held with 13 district level ALC board members and 10 related officials, using SWOT analysis. The results showed that 1) of the samples of ALC members and training attendees, respectively, 55.0% and 51.9% were male, average age 54.23 and 50.88, highest education level was primary school (60.0% and 67.31%), average number of household members was 3.85 and 3.53, were members of other institutions (85.0% and 66.3%), did not hold social positions (77.5% and 31.7%), average number of household farm laborers 1.98 and 2.17, did not hire laborers (47.5% and 39.42%), had borrowed money (75.0% and 76.0%), listed agriculture as their primary occupation (42.5% and 51.0%), had planted longans on an average of 0.64 and 0.61 hectares, and did not rent land (80.0% and 83.6%). 2) Of the samples of ALC members and training attendees, respectively, they had on average 10.85 and 11.84 years of experience growing longan, their trees were on average 14.75 and 14.52 years old, some had their own shallow water source (90.0% and 39.4%), they produced on average 1,403.76 and 1,704.13 kg of longan per 1,600 m2, sold their longan to a middleman (87.5% and 83.7%), and had experienced drought (62.5% and 21.2%). 3) of the samples of ALC members and training attendees, respectively, the average scores on a Rankin scale for source of knowledge about longan growing were as follows: from an individual 2.93 and 2.99; from a group 3.09 and 3.37; and from the mass media 2.68 and 2.88. 4) Of the samples of ALC members and training attendees, respectively, they gave average satisfaction scores for the ALC components of 4.16 and 3.65. Their level of demand for activities was rated thus: additional knowledge transfer 3.57 and 3.38; investment in shares 3.35 and 3.11; registration as a community enterprise 3.40 and 3.07; support in the form of factors of production 4.13 and 4.29; and (highest level of demand) assistance via projects, 4.15 and 4.32. 5) The ALC’s work process consisted of technology transfer, service provision, and work integration. Factors that affected it were the knowledge and expertise of ALC owners, the demonstration fields (orchards) that could really be used in practice, the relevance of the training course content that met the needs of the community, the learning base that could be adapted to new innovations, ALC members’ and board members’ attention to participating in the activities, integration with related agencies and local organizations, and a continuous policy and financial support from the government sector. The ALC’s strengths were that the owners were hard working and had a desire to learn, and the ALC was located in a community that was easy to reach. The ALC’s weaknesses were that the entrance was narrow and there were not enough parking spaces. The ALC’s opportunities were support from allied organizations and receipt of a budget for improvements. The major threat to the ALC was a lack of integration with local organizations and allied agencies.en_US
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
156686.pdfเอกสาณฉบับเต็ม3.82 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons