กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6030
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorวิรัช วิรัชนิภาวรรณth_TH
dc.contributor.authorสุวนี จรูญโรจน์ ณ อยุธยาth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-05-16T04:23:10Z-
dc.date.available2023-05-16T04:23:10Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6030en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารรัฐกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551th_TH
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อศึกษา (1) สภาพการบริหารจัดการด้านการให้บริการประชาชนด้วยระบบพิธีการศุลกากรนำเข้าและส่งออกทางอิเล็กทรอนิกส์แบบไร้เอกสารของกรมศุลกากร (2) ปัญหาการบริหารจัดการด้านการให้บริการประชาชนด้วยระบบพิธีการศุลกากรนำเข้าและส่งออกทางอิเล็กทรอนิกส์แบบไร้เอกสารของกรมศุลกากร และ (3) แนวทางการปรับปรุงการบริหารจัดการด้านการให้บริการประชาชนด้วยระบบพิธีการศุลกากรนำเข้าและส่งออกทางอิเล็กทรอนิกส์แบบไร้เอกสารของกรมศุลกากร โดยนำ 11M มาเป็นกรอบแนวคิดในการศึกษาครั้งนี้การศึกษานี้เป็นการวิชัยเชิงสำรวจ โดยใช้แบบสอบถามซึ่งผ่านการทดสอบ รวมทั้งการหาค่าความเที่ยงตรงและความเชี่อถือได้ของแบบสอบถามทีระดับ 0-9286 สำหรับกลุ่มตัวอย่าง คือข้าราชการกรมศุลกากร 1,413 คน การเก็บรวบรวมข้อมูลสนาม เริ่มตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน 2551 ถึงวันที่ 15 ตุลาคม 2551 เก็บรวบรวมแบบสอบถามคืนมาได้ 1,250 ชุด คิดเป็นร้อยละ 88.46 ของกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด สำหรับสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห้คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการศึกษาพบว่า (1) สภาพการบริหารจัดการด้านการให้บริการประชาชนด้วยระบบพิธีการศุลกากรนำเข้าและส่งออกทางอิเล็กทรอนิกส์แบบไร้เอกสารของกรมศุลกากรอยู่ในระดับปานกลาง (2) ปัญหาการบริหารจัดการที่สำคัญ คือ การเข้าถึงแหล่งข้อมูลช่าวสารของข้าราชการที่ปฏิบัติงานให้บริการประชาชนด้วยระบบไร้เอกสารไม่สะดวก สำหรับ (3) แนวทางการปรับปรุงการบริหารจัดการที่สำคัญ คือ ผู้บริหารทุกระดับของกรมศุลกากรควรจัดหาเครื่องมือที่ทันสมัย และควรจัดการฝืกอบรมข้าราชการเพื่อเพื่มประสิทธิกาพในการให้บริการเพิ่มมากขึ้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectกรมศุลกากร--การบริหารth_TH
dc.subjectการบริหารคุณภาพโดยรวมในภาครัฐth_TH
dc.subjectการบริหารรัฐกิจ--ไทยth_TH
dc.titleการวิเคราะห์การบริหารจัดการด้านการให้บริการประชาชนด้วยระบบพิธีการศุลกากรนำเข้าและส่งออกทางอิเล็กทรอนิกส์แบบไร้เอกสารของกรมศุลากรth_TH
dc.title.alternativeAnalysis on management administration regarding people services with the import and export custom[s] formality of electronic paperless system of the customs departmenten_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe main objectives of this study were to study (1) the situations of management administration regarding people services with the import and export customs formality of Electronic Paperless System of the Customs Department, (2) problems of management administration regarding people services with the import and export customs formality of Electronic Paperless System of the Customs Department, and (3) the improvement guidelines of management administration regarding people services with the import and export customs formality of Electronic Paperless System of the Customs Department. The conceptual framework of 11M was applied to this study. This study was a survey research by using questionnaires. The questionnaires were being pre-tested and checking for validity and reliability of questionnaire at 0.9286 level. The 1,413 samples were officials of the Customs Department. Field data was collected during September!, 2008 to October 15, 2008 with the return of sampling amount of 1,250, making 88.46% of total samples. Statistics that used for data analysis were percentage, mean, standard deviation, and I-The study results showed that (1) the situation of management administration regarding people services with the import and export customs formality of electronic paperless system of The Customs Department was at the medium level; (2) the important problem of the management administration was the inconvenience of approaching data and information of the officials operated on people services with the import and export customs formality of electronic paperless system; and (3) the important improvement guidelines of management administration were the executives at all levels should supply modem equipments and set up training for the officials to increase the service efficiency.en_US
dc.contributor.coadvisorศิรินทร์ ธูปกล่ำth_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Manage-Theses

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
109960.pdfเอกสารฉบับเต็ม8.22 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License Creative Commons