Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6087
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวํลภา สบายยิ่ง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorนิรนาท แสนสา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorช่อแก้ว ส่งแสงทอง, 2531-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-05-22T06:57:53Z-
dc.date.available2023-05-22T06:57:53Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6087-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับพฤติกรรมป้องกันยาเสพติดของนักเรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในจังหวัดสงขลา (2) เปรียบเทียบพฤติกรรมป้องกันยาเสพติดของนักเรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในจังหวัดสงขลา จำแนกตาม เพศ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ค่าใช้จ่ายต่อเดือน ที่พักอาศัย และบุคคลที่อาศัยอยู่ด้วย และ (3) ศึกษาอำนาจการทำนายพฤติกรรมป้องกันยาเสพติดของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในจังหวัดสงขลา จากปัจจัยด้านทักษะปฏิเสธ ด้านความสัมพันธ์กับครอบครัว ด้านความสัมพันธ์กับเพื่อน ด้านโรงเรียน ด้านชุมชน และด้านสื่อ กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย เป็นนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในจังหวัดสงขลา จำนวน 420 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับปัจจัย ที่มีผลต่อพฤติกรรมป้องกันยาเสพติดของนักเรียน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) ระดับพฤติกรรมป้องกันยาเสพติดของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในจังหวัดสงขลาโดยรวมอยู่ในระดับมาก (2) นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในจังหวัดสงขลาที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และที่พัก อาศัยแตกต่างกัน มีพฤติกรรมป้องกันยาเสพติดแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (3) ปัจจัยด้านทักษะปฏิเสธ ปัจจัยด้านความสัมพันธ์กับครอบครัว ปัจจัยด้านโรงเรียน ปัจจัย ด้านชุมชน และปัจจัยด้านสื่อสามารถรวมกัน ทำนายพฤติกรรมป้องกันยาเสพติดของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในจังหวัดสงขลาไดร้อยละ 18.20 %th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isotgth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectเยาวชน--การใช้ยา--ไทย--สงขลาth_TH
dc.subjectยาเสพติดth_TH
dc.subjectการควบคุมยาเสพติด--ไทย--สงขลาth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมป้องกันยาเสพติดของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในจังหวัดสงขลาth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting drugs prevention behaviors of Upper Secondary Students in Songkhla Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2017.9-
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบํณฑิต (การแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were ( 1) to study the level of drugs prevention behaviors of upper secondary students in Songkhla province; ( 2) to compare the levels of drugs prevention behaviors of upper secondary students in Songkhla province as classified by gender, learning achievement, expense per month, type of residence, and people living with; and (3) to study the power to predict drugs prevention behaviors of upper secondary students in Songkhla province using the factors of refusal skill, family relationship, peer relationship, school, community, and social media as the predictors. The research sample consisted of 420 upper secondary students in Songkhla province, obtained by multi-stage sampling. The employed research instrument was a questionnaire on factors affecting drugs prevention behaviors of student. The data were analyzed using the percentage, mean, standard deviation, one way ANOVA, and multiple regression analysis. The research results showed that (1) the overall level of drugs prevention behaviors of upper secondary students in Songkhla province was at the high level; (2) upper secondary students in Songkhla province with different levels of learning achievement and different types of residence differed significantly in their levels of drugs prevention behaviors at the .05 level of statistical significance; and ( 3) the factors of refusal skill, family relationship, school, community, and social media could be combined to predict drugs prevention behaviors of upper secondary students in Songkhla province by 18.20 percent.-
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT_156026.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.27 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons