Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6094
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรรณ์ดี แสงประทีปทอง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorศศิธร บัวทอง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorประนอม บัวแก้ว, 2520--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-05-23T02:43:24Z-
dc.date.available2023-05-23T02:43:24Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6094-
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาชุดแบบวัดทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 40 และ (2) ตรวจสอบคุณภาพของชุดแบบวัดทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในโรงเรียนสังกัดสำนกังานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 40 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 ในโรงเรียนสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 40 จำนวน 400 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่พัฒนาในการวิจัย ได้แก่ ชุดแบบวัดทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ตรวจสอบคุณภาพของชุดแบบวัด โดยการหาความยาก อำนาจจำแนก ความตรงเชิงเนื้อหา ความตรงเชิงโครงสร้าง และความเที่ยง ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) การพัฒนาชุดแบบวัดทักษกระบวนการทางคณิตศาสตร์ สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ได้ชุดแบบวัดทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ 1 ชุด แบ่งเป็น 5 ฉบับ ดรั้งนี้ ฉบับที่ 1- ฉบับที่ 4 เป็นแบบวัด แบบเลือกตอบ 4 ตัว เลือก ฉบับละ 10 ข้อ ฉบับที่ 1 วัดความสามารถในการแกปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฉบับที่ 2 วัดความสามารถในการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ ฉบับที่ 3 วัดความสามารถในการสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์และการนำเสนอ ฉบับที่ 4 วัดความสามารถในการเชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ทางคณิตศาสตร์ และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ ฉบับที่ 5 เป็นแบบวัดแบบเขียนตอบ 4 ข้อ วัดความสามารถในการคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และ (2) ชุดแบบวัดทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ มีความตรงเชิงเนื้อหาโดยมีค่าดัชนีความสอดคล้องตั้งแต่ .60 - 1.00 มีค่าความยากตั้งแต่ .43 - .80 และค่าอำนาจจำแนกตั้งแต่ .33 - .93 มีความตรงเชิงโครงสร้างโดยการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน พบว่าโมเดลมีความสอดคล้อง กับข้อมูลเชิงประจักษ์ มีค่าความเที่ยงของแบบวัด ฉบับที่ 1- ฉบับที่ 5 เท่ากับ .84, .72, .74, .82 และ .90 ตามลำดับth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectทักษะการเรียน--คณิตศาสตร์th_TH
dc.subjectการวัดความถนัดทางการเรียนth_TH
dc.titleการพัฒนาชุดแบบวัดทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 40th_TH
dc.title.alternativeDevelopment of a set of mathematical process skills tests for Mathayom Suksa III students in Schools under the Secondary Education Service Area Office 40th_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การประเมินการศึกษา)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to develop a set of mathematical process skills tests for Mathayom Suksa III students in schools under the Secondary Education Service Area Office 40; and (2) to verify quality of the developed set of mathematical process skills tests for Mathayom Suksa III students in schools under the Secondary Education Service Area Office 40. The research sample consisted of 400 Mathayom Suksa III students in schools under the Secondary Education Service Area Office 40 during the first semester of the 2017 academic year, obtained by multi-stage sampling. The developed research instruments were a set of mathematical process skills tests for Mathayom Suksa III students. Quality verification of the developed set of mathematical process skills tests was undertaken by finding their content validity, difficulty index, discriminating index, construct validity, and reliability. Research findings revealed that (1) as results of the development, a set of mathematical process skills tests was obtained which comprised five tests: Test 1-Test 4 were 4-choice multiple-choice test each of which containing 10 test items; Test 1 measured mathematical problem solving ability; Test 2 measured mathematical reasoning ability; Test 3 measured mathematical communication, mathematical interpretation and mathematical presentation ability; Test 4 measured mathematical connection ability and the connection of mathematical knowledge with knowledge in other disciplines; and Test 5, which was an essay type test consisting of four test items, measured creative thinking ability; and (2) the developed set of mathematical process skills tests had content validity as shown by the IOC ranging from .60 – 1.00; its difficulty indices ranging from .43 - .80; its discriminating indices ranging from .33 - .93; it also had construct validity as shown by results of confirmatory factor analysis that the synthesized assessment model fitted empirical data; and finally, reliability coefficients of Test 1 – Test 5 were .84, .72, .74, .62, and .90, respectively.-
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT_156519.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.4 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons