Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6095
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวัลภา สบายยิ่ง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorจรีลักษณ์ รัตนาพันธ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสารภี นทีหลวง, 2510--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-05-23T03:04:16Z-
dc.date.available2023-05-23T03:04:16Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6095-
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับการปรับตัวของผู้ปกครองเด็กออทิสติก (2) เปรียบเทียบการปรับตัวของผู้ปกครองเด็กออทิสติกในกลุ่มทดลองก่อนและหลังการทดลอง และ (3) เปรียบเทียบการปรับตัวของผู้ปกครองเด็กออทิสติกในกลุ่มทดลองหลังการทดลองระยะติดตามผล กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ปกครองเด็กออทิสติกที่มารับการฝึกกระตุ้นพัฒนาการคลินิก กระตุ้นพัฒนาการเด็ก โรงพยาบาลมหาราช นครศรีธรรมราช จำนวน 20 คน ได้จากการคัดเลือกแบบสมัครใจ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ (1) แบบวัดการปรับตัวของผู้ปกครองเด็กออทิสติกที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น มีค่าความเที่ยงทั้งฉบับเท่ากับ .89 (2) ชุดกิจกรรมแนะแนวบูรณาการตัวแบบสัญลักษณ์และการสร้างเครือข่ายทางสังคมเพื่อพัฒนาการปรับตัวของผู้ปกครองเด็กออทิสติก ส่วนสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยที่พบ (1) ก่อนการทดลองผู้ปกครองเด็กออทิสติกส่วนใหญ่มีการปรับตัวอยู่ในระดับปานกลาง มีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 111-140 คะแนน (2) ผู้ปกครองเด็กออทิสติกในกลุ่มทดลองมีระดับการปรับตัวหลังการทดลองเพิ่มมากขึ้นกว่า ก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (3) ผู้ปกครองเด็กออทิสติกในกลุ่มทดลองมีระดับการปรับตัวหลังการทดลองและในระยะติดตามผลไม่แตกต่างกันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectเด็กออทิสติกth_TH
dc.subjectผู้ปกครองเด็กออทิสติกth_TH
dc.subjectเด็กออทิสติก--การปรับพฤติกรรมth_TH
dc.subjectเด็กออทิสติก--เครือข่ายสังคมth_TH
dc.titleผลการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวบูรณาการตัวแบบสัญลักษณ์และการสร้างเครือข่ายทางสังคมเพื่อพัฒนาการปรับตัวของผู้ปกครองเด็กออทิสติกth_TH
dc.title.alternativeThe effects of using a guidance activities package with integration of symbolic model and social network construction to develop adaptation of Parents of Autistic Childrenth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT_156529.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.34 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons