กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6118
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorรังสรรค์ ประเสริฐศรีth_TH
dc.contributor.authorสุรินทร์ ไชยบัณฑิตย์th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-05-23T07:16:20Z-
dc.date.available2023-05-23T07:16:20Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6118en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารรัฐกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551th_TH
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษารูปแบบภาวะผู้นำของผู้บังคับบัญชาระดับหัวหน้างานของการประปาส่วนภูมิภาค (สำนักงานส่วนกลาง) และ (2) เปรียบเทียบรูปแบบภาวะผู้นำของหัวหน้างานที่ผู้ใต้บังคับบัญชาคาดหวัง กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาครั้งนี้เป็นพนักงานระดับ 1 - 7 สังกัด 9 สายงาน ของการประปาส่วนภูมิภาค (สำนักงานส่วนกลาง) โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ และได้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 234 คน ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูลซึ่งนำมาวิเคราะห์โดยใช้สถิติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที การทดสอบค่าเอฟ ในการทดสอบสมมติฐานผลการศึกษาพบว่า (1) รูปแบบภาวะผู้นำของหัวหน้างานที่ผู้ใต้บังคับบัญชาคาคหวัง พบว่า ในภาพรวม มีความคาดหวังค่อนข้างสูง เมื่อพิจารณาในแต่ละรูปแบบจากทั้งหมค 4 รูปแบบ เรียงลำดับคะแนนจากมากไปหาน้อย ไต้แก่ รูปแบบภาวะผู้นำของหัวหน้างานแบบมีส่วนร่วมรูปแบบภาวะผู้นำของหัวหน้างานแบบสนับสนุน รูปแบบภาวะผู้นำแบบเน้นความสำเร็จ และ รูปแบบภาวะผู้นำของหัวหน้างานแบบชี้นำ และ (2) เมื่อเปรียบเทียบรูปแบบภาวะผู้นำของหัวหน้างานที่ผู้ใต้บังคับบัญชาคาดหวังจากทั้งหมด 4 รูปแบบได้แก่ รูปแบบภาวะผู้นำของหัวหน้างานแบบชี้นำ พบว่า หัวหน้างานควรมีความเชื่อมั่นในตนเองและตัดสินใจที่เด็ดขาด รูปแบบภาวะผู้นำของ หัวหน้างานแบบสนับสนุน พบว่าหัวหน้างานควรสนับสนุนผู้ใต้บังคับบัญชาอย่างเท่าเทียบกับรูปแบบภาวะผู้นำของหัวหน้างานแบบมีส่วนร่วม พบว่า หัวหน้างานควรเข้ามามีส่วนร่วมในการทำงานร่วมกัน รูปแบบภาวะผู้นำแบบเน้นความสำเร็จ พบว่า หัวหน้างานควรกำหนคเป้าหมายการทำงานและเน้นความสำเร็จอย่างมีประสิทธิภาพth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2008.317en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectผู้นำth_TH
dc.subjectภาวะผู้นำทางการศึกษาth_TH
dc.titleรูปแบบภาวะผู้นำของหัวหน้างานที่ผู้ใต้บังคับบัญชาคาดหวัง : กรณีศึกษาการประปาส่วนภูมิภาค (สำนักงานส่วนกลาง)th_TH
dc.title.alternativeExpected leadership styles of supervisor from subordinates' perspective a case study of Provincial Waterworks Authorityen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2008.317-
dc.identifier.urlhttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2008.317en_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to study expected leadership styles of supervisor of the Provincial Waterworks Authority (Head Office) and (2) to compare expected leadership styles of supervisor form subordinates expectation. The research sampling of this study was collected from the employees from level 1 -7 which had totally of 234 employees in 9 sections of die Provincial Waterworks Authority (Head Office) by the accidental sampling. A questionnaire was employed as the research tool and the data was analyzed by using the statistical methods - percentage, mean .standard deviation . which t-test and F- test were using to test the hypotheses. The result of this study found that (1) the expected leadership styles of supervisor from the subordinates’ perspective had, in the total picture, highly expectation when considering in each of 4 leadership styles respectively: i.e. participative leadership, supportive leadership, achievement leadership, and directive leadership and (2) when comparing with each other of the leadership styles by their subordinates, from the total of 4 leadership styles, found that directive leadership should have self - assertiveness of decisiveness; supportive leadership should have fairly treat to their subordinates; participative leadership should take part in their subordinate activities ; and achievement leadership should engage goal setting success and efficiency.en_US
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Manage-Theses

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
109962.pdfเอกสารฉบับเต็ม7.14 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License Creative Commons