Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6127
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนารีรัตน์ สีระสาร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorบำเพ็ญ เขียวหวาน, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอนุวัฒน์ สุทธการ, 2536--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-05-23T08:09:32Z-
dc.date.available2023-05-23T08:09:32Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6127-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม.(ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2563th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพพื้นฐานทางสังคมและเศรษฐกิจ 2) สภาพการผลิตเมล็ดพันธุ์ถั่วเหลือง 3) ความรู้ในการผลิตเมล็ดพันธุ์ถั่วเหลือง 4) ความต้องการส่งเสริมการผลิตเมล็ดพันธุ์ถั่วเหลือง 5) ปัญหาและข้อเสนอแนะของเกษตรกรผู้ผลิตเมล็ดพันธุ์ถั่วเหลือง ประชากรที่ศึกษา คือ เกษตรกรผู้ผลิตเมล็ดพันธุ์ถั่วเหลืองในพื้นที่อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน ที่ขึ้นทะเบียนเกษตรกรกับกรมส่งเสริมการเกษตร ในปีการผลิต 2564 จำนวน 252 ราย กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตร ทาโร่ ยามาเน่ ที่ระดับความคลาดเคลื่อน 0.05 ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 155 ราย รวบรวมข้อมูลโดยวิธีสุ่มแบบง่าย เครื่องมือที่ใช้เก็บข้อมูลคือแบบสัมภาษณ์ และนำมาวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าต่ำสุด ค่าสูงสุด ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการจัดลำดับ ผลการวิจัย พบว่า 1) เกษตรกรส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุเฉลี่ย 54.94 ปี จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น มีพื้นที่เพาะปลูกเมล็ดพันธุ์ถั่วเหลืองเฉลี่ย 8.30 ไร่ มีประสบการณ์ผลิตเมล็ดพันธุ์ถั่วเหลืองเฉลี่ย 7.90 ปี มีแรงงานในการผลิตเมล็ดพันธุ์ถั่วเหลืองเฉลี่ย 7.59 คน มีรายได้ภาคการเกษตรเฉลี่ย 106,306.68 บาทต่อปี และมีรายได้จากการผลิตเมล็ดพันธุ์ถั่วเหลืองเฉลี่ย 54,173.10 บาทต่อปี 2) เกษตรกรใช้เมล็ดพันธุ์เชียงใหม่ 60 ในอัตราเฉลี่ย 16.10 กิโลกรัมต่อไร่ ปลูกโดยวิธีการหว่าน ไถพรวนดิน มีการผสมปุ๋ยชีวภาพไรโซเบียม ในอัตราเฉลี่ย 458.71 กิโลกรัมต่อไร่ มีการสำรวจแปลงผลิตเมล็ดพันธุ์ถั่วเหลือง จำนวน 2 ครั้ง การเก็บเกี่ยวจะเก็บเกี่ยวในระยะฝักมีสีน้ำตาลเข้มประมาณ 80 เปอร์เซ็นต์ มีการตากแห้งก่อนนวดเมล็ดเฉลี่ย 1.97 วัน และมีการจดบันทึกข้อมูลการผลิตเมล็ดพันธุ์ถั่วเหลือง 3) เกษตรกรมีความรู้เกี่ยวกับการผลิตเมล็ดพันธุ์ถั่วเหลืองเกี่ยวกับลักษณะประจำพันธุ์ของถั่วเหลือง และการตรวจสอบคุณภาพเมล็ดพันธุ์ให้ตรงตามมาตรฐานของพันธุ์ขยาย 4) เกษตรกรมีความต้องการในการส่งเสริมการผลิตเมล็ดพันธุ์ถั่วเหลืองด้านองค์ความรู้เกี่ยวกับการดูแลรักษา เมล็ดพันธุ์ การเก็บเกี่ยว วิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว รูปแบบวิธีการส่งเสริมแบบกลุ่ม 5) ปัญหาด้านภัยธรรมชาติด้านโรคและแมลงอยู่ระดับมากที่สุด ข้อเสนอแนะควรได้รับความรู้เกี่ยวกับการกำจัดโรคและแมลงในการลดความเสียหายจากภัยธรรมชาติth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectถั่วเหลือง--เมล็ดพันธุ์--การผลิตth_TH
dc.titleการส่งเสริมการผลิตเมล็ดพันธุ์ถั่วเหลืองของเกษตรกร ในอำเภอนาน้อย จังหวัดน่านth_TH
dc.title.alternativeExtension of soybean seed production of farmers in Na Noi District, Nan Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิต (ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study 1) social and economic conditions, 2) the condition of soybean seed production, 3) knowledge about soybean seed production, 4) extension needs for soybean seed production, 5) problems and suggestions of soybean seed producers. The population consisted of 252 soybean seed producers in Na Noi district of Nan province who had registered with the Department of Agricultural Extension in 2021 production year. The sample size of 155 persons was determined using Taro Yamane formula with the error value of 0.05 and simple random sampling method. Interview questions were used for data collection. Statistics used were frequency, percentage, minimum value, maximum value, mean, standard deviation and ranking. The results indicated that 1) most of the producers were female with the average age of 54.94 years and completed junior high school education. The average soybean seed planting area was 8.30 rais. The average experience in soybean seed production was 7.90 years. The average labor for producing soybean seeds was 7.59 persons. The average income in the agricultural sector and soybean seed production were 106,306.68 and 54,173.10 baht/year, respectively. 2) Soybean seeds of Chiang Mai 60 variety were broadcasted at the average rate of 16.10 kgs/rai. Soil tillage together with Rhizobium at the average rate of 458.71 kgs/rai were applied. Soybean seed production plots were surveyed for 2 times. When 80% of the soybean pods became dark brown, they would be harvested. Soybean seeds were then dried at the average 1.97 days before threshing. The process of soybean seed production was recorded. 3) Producers had knowledge about the characteristics of soybean varieties and inspection for seed quality to meet the standards of registered seed. 4) Extension need of producers for soybean seed production was the knowledge about plant care, seed, harvest, postharvest and group extension method. 5) Problems related to natural disaster, disease and insect pests were at highest level. Producers recommended that they should gain knowledge about soybean pest controlen_US
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม15.75 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons