Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6148
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบุญศรี พรหมมาพันธุ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorลาวัลย์ รักสัตย์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorกานต์รวี แซ่หว่อง, 2507--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-05-24T05:43:35Z-
dc.date.available2023-05-24T05:43:35Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6148-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) สร้างแบบวัดความสามารถด้านทักษะการคิดวิเคราะห์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 3 และ (2) ตรวจสอบคุณภาพแบบวัดความสามารถด้านทักษะการคิดวิเคราะห์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 3 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 3 จำนวน 379 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบวัดความสามารถด้านทักษะการคิดวิเคราะห์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความตรง ค่าความเที่ยง ค่าความยาก และค่าอำนาจจำแนก ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) แบบวัดความสามารถด้านทักษะการคิดวิเคราะห์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ที่สร้างขึ้นประกอบด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา ความสัมพันธ์ และหลักการ และ (2) แบบวัดความสามารถด้านทักษะการคิดวิเคราะห์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ มีความตรงเชิงเนื้อหา ค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.82 ค่าความยากอยู่ระหว่าง 0.27 - 0.73 และค่าอำนาจจำแนกอยู่ระหว่าง 0.20 - 0.32 ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า แบบวัดความสามารถมีคุณภาพตามเกณฑ์ที่กำหนดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isotgth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectวิทยาศาสตร์--การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)--ไทย--สุราษฎร์ธานีth_TH
dc.subjectความคิดและการคิด--การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)--ไทย--สุราษฎร์ธานีth_TH
dc.titleการพัฒนาแบบวัดความสามารถด้านทักษะการคิดวิเคราะห์กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 3th_TH
dc.title.alternativeDevelopment of a proficiency test on analytical thinking skill in the Science Learning Area for Prathom Suksa VI students in Surat Thani Primary Education Service Area 3th_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2017.67-
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การประเมินการศึกษา)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to develop a proficiency test on analytical thinking skill in the Science Learning Area for Prathom Suksa VI students in Surat Thani Primary Education Service Area 3; and (2) to verify quality of the developed proficiency test on analytical thinking skill in the Science Learning Area for Prathom Suksa VI students in Surat Thani Primary Education Service Area 3. The research sample consisted of 379 Prathom Suksa VI students in Surat Thani Primary Education Service Area 3, obtained by stratified random sampling. The instrument employed in this research was a proficiency test on analytical thinking skill in the Science Learning Area. Statistics for data analysis were the validity index, reliability coefficient, difficulty index, and discrimination index. Research findings revealed that: (1) the developed proficiency test on analytical thinking skill in the Science Learning Area was composed of analysis of content, analysis of relationship, and analysis of principles; and (2) the developed proficiency test on analytical thinking skill in the Science Learning Area was found to have content validity; reliability coefficient of 0.82; difficulty indices ranging from 0.27 - 0.73; and discrimination indices ranging from 0.20 - 0.32. Thus, it could be concluded that quality of the test met the pre-determined criteria.-
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT_156767.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.59 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons