Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6157
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจุฬารัตน์ ธรรมประทีป, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorนวลจิตต์ เชาวกีรติพงศ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorรุ่งทิวาห์ ศรีบุรมย์, 2534--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-05-24T08:36:18Z-
dc.date.available2023-05-24T08:36:18Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6157-
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบความเข้าใจธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ก่อนและหลังได้รับการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ที่บ่งชี้ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ (2) เปรียบเทียบความเข้าใจธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ หลังเรียนของนักเรียนที่ได่รับการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ที่บ่งชี้ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์กับของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบเป็นนัย (3) เปรียบเทียบความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ก่อนและหลังได้รับการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ที่บ่งชี้ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ และ (4) เปรียบเทียบความสามารถในการคิดวิเคราะห์หลังเรียนของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ที่บ่งชี้ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์กับของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบเป็นนัย กลุ่มตัวอย่าง เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนขามแกนนคร จังหวัดขอนแก่น ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 จำนวน 60 คน จำนวน 2 ห้องเรียน ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ที่บ่งชี้ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ เรื่องสารละลาย แบบวัดความเข้าใจธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ และแบบวัดความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่า (01) นักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ที่บ่งชี้ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์มีความเข้าใจธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (2) ความเข้าใจธรรมชาติของวิทยาศาสตร์หลังเรียนของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ที่บ่งชี้ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์สูงกว่าของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบเป็นนัย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (3) นักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ที่บ่งชี้ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (4) ความสามารถในการคิดวิเคราะห์หลังเรียนของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ที่บ่งชี้ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์สูงกว่าของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบเป็นนัยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกวิทยาศาสตร์ศึกษา --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้th_TH
dc.subjectวิทยาศาสตร์--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)--ไทย--ขอนแก่นth_TH
dc.titleผลการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ที่บ่งชี้ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์เรื่อง สารละลายที่มีต่อความเข้าใจธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนขามแก่นนคร จังหวัดขอนแก่นth_TH
dc.title.alternativeThe effects of inquiry-based learning and explicit nature of science in the topic of the solution for nature of science understanding and analytical thinking abilities of Mathayom Suksa I students at khamkaen Nakorn School, Khonkaen Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2017.74-
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (วิทยาศาสตร์ศึกษา)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to compare nature of science understanding scores of Mathayom Suksa I students before and after learning under the inquiry-based learning management indicating explicit nature of science; (2) to compare the post-learning nature of science understanding scores of the students who learned under the inquiry-based learning management indicating explicit nature of science with the post-learning counterpart scores of the students who learned under the implicit learning management; (3) to compare analytical thinking ability scores of Mathayom Suksa I students before and after learning under the inquiry-based learning management indicating explicit nature of science; and (4) to compare the post- learning analytical thinking ability scores of the students who learned under the inquiry-based learning management indicating explicit nature of science with the post-learning counterpart scores of the students who learned under the implicit learning management. The research sample consisted of 60 Mathayom Suksa I students in two intact classrooms of Khamkaen Nakhon School in Khon Kaen province during the second semester of the 2017 academic year, obtained by cluster random sampling. The research instruments consisted of learning management plans for the inquiry-based learning management indicating explicit nature of science in the topic of Solutions, a test of nature of science understanding, and a test of analytical thinking ability. Statistics employed for data analysis were the percentage, mean, standard deviation, and t-test. Research findings showed that (1) the post-learning nature of science understanding scores of students who learned under the inquiry-based learning management indicating explicit nature of science were significantly higher than their pre-learning counterpart scores at the .05 level of statistical significance; (2) the post- learning nature of science understanding scores of students who learned under the inquiry-based learning management indicating explicit nature of science were significantly higher than the post-learning counterpart scores of students who learned under the implicit learning management at the .05 level of statistical significance; (3) the post-learning analytical thinking scores of students who learned under the inquiry- based learning management indicating explicit nature of science were significantly higher than their pre-learning counterpart scores at the .05 level of statistical significance; and (4) the post-learning analytical thinking scores of students who learned under the inquiry-based learning management indicating explicit nature of science were significantly higher than the post-learning counterpart scores of students who learned under the implicit learning management at the .05 level of statistical significance.-
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT_157817.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.34 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons