Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/616
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorวรพิชชา เวชวิริยกุล-
dc.contributor.authorณัฏฐภรณ์ หลาวทอง-
dc.contributor.authorศิริปรียา ใจบุญมา-
dc.contributor.authorสุธนิต เวชโช-
dc.contributor.authorสิวะโชติ ศรีสุทธิยากร-
dc.date.accessioned2022-08-13T13:58:55Z-
dc.date.available2022-08-13T13:58:55Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.citationวารสารศึกษาศาสตร์ มสธ. ปีที่ 13, ฉบับที่ 1 (ม.ค.-มิ.ย. 2563), หน้า 83-97th_TH
dc.identifier.issn1905-4653-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/616-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) วิเคราะห์องค์ประกอบของความยึดมั่นผูกพันของผู้เรียนระดับชั้นประถมศึกษาและมัธยมศึกษาในประเทศไทย และตรวจสอบคุณภาพของแบบวัดที่สร้างขึ้นภายหลังจากการศึกษาองค์ประกอบ และ 2) วิเคราะห์กลุ่มโปรไฟล์ตามระดับความยึดมั่นผูกพันของผู้เรียนระดับชั้นประถมศึกษาและมัธยมศึกษา เก็บรวบรวมข้อมูลจากโครงการวิจัยและปฏิบัติการโรงเรียนพัฒนาคุณภาพต่อเนื่อง ผ่านแบบวัดความยึดมั่นผูกพันของผู้เรียน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ การหาค่าสัมประสิทธิ์ความเที่ยงแอลฟาของครอนบาค ค่าอำนาจจำแนก และการวิเคราะห์โปรไฟล์แฝง ผลการวิจัยพบว่า 1) องค์ประกอบของความยึดมั่นผูกพันของผู้เรียน ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบเช่นเดียวกันทั้งผู้เรียนระดับชั้นประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ได้แก่ ด้านความสัมพันธ์กับครูและโรงเรียน ด้านพฤติกรรม ด้านความสัมพันธ์กับเพื่อน และด้านความสัมพันธ์กับครอบครัว 2) ผลการวิเคราะห์ความเที่ยงระดับชั้นประถมศึกษา มีค่าสัมประสิทธิ์ความเที่ยงโดยรวมทั้งฉบับเท่ากับ .82 และเมื่อพิจารณาเป็นรายองค์ประกอบพบว่า มีค่าอยู่ระหว่าง .50 ถึง .74 ส่วนระดับชั้นมัธยมศึกษาเท่ากับ .82 และเมื่อพิจารณารายองค์ประกอบพบว่า มีค่าอยู่ระหว่าง 54 ถึง .77 3) ผลการวิเคราะห์ค่าอำนาจจำแนกระดับชั้นประถมศึกษามีค่าดัชนีอำนาจจำแนกเฉลี่ยเท่ากับ .41 และเมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า มีค่าอยู่ระหว่าง .31 ถึง .47 ส่วนระดับชั้นมัธยมศึกษามีค่าอำนาจจำแนกเฉลี่ยเท่ากับ .42 และเมื่อพิจารณารายข้อพบว่ามีค่าอยู่ระหว่าง .32 ถึง .49 และ 4) กลุ่มโปรไฟล์ของผู้เรียนระดับชั้นประถมศึกษาและมัธยมศึกษาประกอบด้วย 3 กลุ่มเช่นเดียวกัน ได้แก่ กลุ่มที่มีระดับความยึดมั่นผูกพันสูงกว่าค่าเฉลี่ย กลุ่มที่อยู่ในระดับค่าเฉลี่ย และกลุ่มที่ต่ำกว่าค่าเฉลี่ยth_TH
dc.language.isootherth_TH
dc.publisherสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.subjectความผูกพันต่อองค์การth_TH
dc.titleการวิเคราะห์องค์ประกอบและโปรไฟล์แฝงของความยึดมั่นผูกพันของผู้เรียนth_TH
dc.title.alternativeFactor and latent profile analyses of student engagementth_TH
dc.typeArticleth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were 1) to analyze the factor of student engagement of primary school students and secondary school students in Thailand and examining the quality of the student engagement scale after analyze the factor; and 2) to analyze the profile group of primary school students and secondary school students in Thailand according to the level of student engagement. The data was a secondary data derived from School Quality Improvement Program. The research instrument was student engagement scale. Data were analyzed by using exploratory factor analysis, Cronbach’s alpha for internal consistency reliability, item discrimination and latent profile analysis. The research finding were showed that 1) the factor of student engagement both of primary school students and secondary school students consisted of 4 factors include relationship with teachers and school, behavioral engagement, relationship with friends and relationship with family; 2) for primary school students, the total scale reliability was .82 and when considering each factor, the reliability was between .50 to .74, and for secondary school students, the total scale reliability was .82 and when considering each factor, the reliability was between .54 to .77; 3) for primary school students, the average item discrimination was .41, and the item discrimination were between .32 and .53, for secondary school students, the average item discrimination was .42 and the items discrimination were between .32 and .49 and 4) student engagement profile of both of primary school students and secondary school students consisted of 3 groups which were: the group that are above average; the group is at average; and the group that are below averageen_US
Appears in Collections:STOU Education Journal

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
43330.pdfเอกสารฉบับเต็ม491 kBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons