Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/617
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorประลอง ครุฑน้อย-
dc.contributor.authorสังวรณ์ งัดกระโทก-
dc.contributor.authorสมคิด พรมจุ้ย-
dc.contributor.authorสุพักตร์ พิบูลย์-
dc.date.accessioned2022-08-13T17:04:11Z-
dc.date.available2022-08-13T17:04:11Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.citationวารสารศึกษาศาสตร์ มสธ. ปีที่ 13, ฉบับที่ 1 (ม.ค.-มิ.ย. 2563), หน้า 98-113th_TH
dc.identifier.issn1905-4653-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/617-
dc.description.abstractการวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อ สร้างทฤษฎีโปรแกรมในการพัฒนาวิธีการประเมินและประเมินผลโครงการพัฒนาบุคลิกภาพประชาธิปไตยของนักเรียนในโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนสันทรายหลวง อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 38 คน การวิจัยแบ่งออกเป็น 3 ระยะ คือ ระยะที่ 1 สร้างทฤษฎีโปรแกรม ระยะที่ 2 พัฒนาวิธีการประเมิน ระยะที่ 3 ประเมินผลโครงการ โดยผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเป็นผู้ให้ข้อมูล จำนวน 41 คน เครื่องมือวิจัย ได้แก่ 1) แบบทดสอบ 2) แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรม 3) แบบประเมินตนเองของนักเรียน 4) แบบประเมินบุคลิกภาพประชาธิปไตยนักเรียนของครูประจำชั้น 5) แบบสอบถามความตระหนัก/จิตสำนึกของนักเรียนที่ทำให้นักเรียนมีบุคลิกภาพประชาธิปไตย และ 6) แบบประเมินโครงการ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า 1) ทฤษฎีโปรแกรม ประกอบด้วย โมเดลการกระทำ ได้กิจกรรมพัฒนาบุคลิกภาพประชาธิปไตยเป็นตัวแทรกแซง และโมเดลการเปลี่ยนแปลง ประกอบด้วย ตัวแทรกแซง ที่ได้จากโมเดลการกระทำ ซึ่งมีความตระหนัก/จิตสำนึก เป็นตัวกำหนดเชื่อมโยงระหว่างตัวแทรกแซงกับผลลัพธ์ 2) ผลการประเมินการเรียนรู้ของนักเรียนได้คะแนนเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในเกณฑ์ดี และมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และ 3) ผลประเมินโครงการ พบว่า นักเรียนมีบุคลิกภาพประชาธิปไตยในภาพรวมอยู่ในระดับดี และมีความตระหนัก/จิตสำนึกที่ทำให้นักเรียนมีบุคลิกภาพประชาธิปไตยในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียส่วนใหญ่เห็นด้วยกับการจัดโครงการนี้ เพราะนักเรียนสามารถนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ และนักเรียนมีบุคลิกภาพประชาธิปไตยในภาพรวมอยู่ในระดับมากth_TH
dc.language.isootherth_TH
dc.publisherสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.subjectประชาธิปไตย -- การศึกษาและการสอนth_TH
dc.titleการประยุกต์ใช้การประเมินที่ขับเคลื่อนด้วยทฤษฎีในการพัฒนาและประเมินโครงการพัฒนาบุคลิกภาพประชาธิปไตยของนักเรียนในโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานth_TH
dc.title.alternativeApplication of theory-driven evaluation approach for development and evaluation the student’s democratic personality development project in schools under the office of basic education commissionth_TH
dc.typeArticleth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to create the program theory, develop the evaluation methods, and evaluate the success of Student’s Democratic Personality Development Project in Primary Schools under the Office of Basic Education Commission. The samples were 38 students studying in Prathom Suksa IV in Sansai Luang school, Sansai district, Chiang Mai province. The research procedure was divided in 3 stages: Stage 1: creating the theory program of evaluation. Stage 2: developing the method of evaluation. Stage 3: evaluating the project. The research instruments consisted of 1) a knowledge test, 2) a students’ satisfaction questionnaire on the activities, 3) a students’ self-assessment form, 4) a student democracy personality assessment form for teachers, 5) a questionnaire for students' awareness/consciousness that makes students have democratic personality, and 6) a project evaluation form. The data were analyzed by using mean, standard deviation and content analysis. The results of the study were as follows: 1) the program theory consisted of action model and change model. The action model used to design intervention of democratic personality development activities. The change model had students’ awareness which was a determinant linking intervention and outcome. 2) The overall of the students’ score, and their satisfaction on the learning-teaching process of all activities were at a good level and the highest level, respectively. 3) Overall, students’ democratic personality was at a good level. The students’ awareness/consciousness instilling democratic behaviors were at a good level. The majority of stakeholders agreed with this Project because they perceived that the Project was useful for students to enable them to apply the obtained knowledge in their daily lives; also, the overall democratic personality of the students was at a high levelen_US
Appears in Collections:STOU Education Journal

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
43331.pdfเอกสารฉบับเต็ม442.92 kBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons