Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/618
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorวัชรศักดิ์ สุดหล้า-
dc.contributor.authorลภัสพิชชา สุรวาทกุล-
dc.contributor.authorอภิสิทธิ์ ตามสัตย์-
dc.contributor.authorทีปทัศน์ ชินตาปัญญากุล-
dc.contributor.authorสังวรณ์ งัดกระโทก-
dc.date.accessioned2022-08-13T17:15:19Z-
dc.date.available2022-08-13T17:15:19Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.citationวารสารศึกษาศาสตร์ มสธ. ปีที่ 13, ฉบับที่ 1 (ม.ค.-มิ.ย. 2563), หน้า 114-130th_TH
dc.identifier.issn1905-4653-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/618-
dc.description.abstractทักษะสำหรับศตวรรษที่ 21 มีความสำคัญในการเตรียมความพร้อมบุคลากร แต่กรอบของทักษะต่าง ๆ ที่นักวิชาการกำหนดไว้ เป็นไปอย่างกว้าง ๆ และขึ้นอยู่กับมุมมองของผู้นิยาม ด้วยความก้าวหน้าของโลกในปัจจุบันจึงมีบางทักษะที่ต้องให้ความสำคัญเพิ่มกว่าบางทักษะ การวิจัยครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาว่านักศึกษาให้ความสำคัญกับทักษะต่าง ๆ ที่จำเป็นสำหรับบัณฑิตในยุคดิจิทัลอย่างไร มีความคิดห็นว่าทักษะใดมีความสำคัญมากกว่ากัน การวิจัยครั้งนี้เก็บรวบรวมข้อมูลความคิดเห็นของนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยของรัฐและเอกชน จำนวน 139 คน ทั้งระดับปริญญาตรี โทและเอก เครื่องมือวิจัยคือ แบบสอบถามที่มีลักษณะเป็นการเปรียบเทียบทีละคู่และวิธีเรียงอันดับ การวิเคราะห์ครั้งนี้ใช้วิธีวิเคราะห์เอ็มดีเอส และการวิเคราะห์เอ็มดียูในการจัดกลุ่มความคิดของนักศึกษา นอกจากนี้ การวิจัยครั้งนี้ยังเปรียบเทียบผลการวิเคราะห์ด้วยวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลสองรูปแบบเพื่อตรวจสอบว่าวิธีการใดจะให้ผลการวิเคราะห์ที่เหมาะสมกว่า ผลการวิจัยพบว่า การวิเคราะห์ทั้งสองวิธีให้ผลการจัดกลุ่มทักษะที่จำเป็นในยุคดิจิทัลทั้งที่เหมือนและแตกต่างกัน การวิเคราะห์เอ็มดีเอสเหมาะสมกับข้อมูลแบบเรียงอันดับมากกว่า และการวิเคราะห์เอ็มดียูเหมาะกับข้อมูลที่ได้จากการเปรียบเทียบทีละคู่มากกว่าth_TH
dc.language.isootherth_TH
dc.publisherสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.subjectเทคโนโลยีทางการศึกษาth_TH
dc.titleนักศึกษาให้ความสำคัญกับทักษะที่จำเป็นในยุคดิจิทัลอย่างไร? การศึกษานำร่องโดยใช้การวิเคราะห์เอ็มดีเอสและเอ็มดียูth_TH
dc.title.alternativeHow do students value the importance of skills needed in the digital age? a preliminary study using MDS and MDU analysesth_TH
dc.typeArticleth_TH
dc.description.abstractalternative21st century skills are important for personnel preparation. However, the frameworks of the foresaid skills that scholars stipulated are broad and varied with the perspectives of those giving the definitions. In today’s advanced world, some skills are more importance and needed to be more focused than others. For these reasons, the purpose of this research was to study how students value the importance of skills needed in the digital age and their perspectives on which skills should receive priority concerns. In this research, data were collected from 139 public and private university students, including undergraduate, master’s, and doctoral students. The research instruments were questionnaires in two different forms: comparison and ranking order. Data were analyzed by using MDS and MDU analysis in grouping the participants’ opinions. Furthermore, this research compared the results of using two data collection methods to determine which method would yield more appropriate results. The findings showed that both methods yielded similar and also different grouping results of skills needed in the digital age. The MDS analysis was found to be more fit for the data collected from a ranking order questionnaire, whereas the MDU analysis was more fit for the data collected from a comparison questionnaireen_US
Appears in Collections:STOU Education Journal

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
43332.pdfเอกสารฉบับเต็ม705.56 kBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons