Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6215
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | นวลจิตต์ เชาวกีรติพงศ์, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | ศศิเทพ ปิติพรเทพิน, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | กาญจน์ธัช ศาลางาม, 2533- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-05-26T03:37:54Z | - |
dc.date.available | 2023-05-26T03:37:54Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6215 | - |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่ได้รับ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ประเด็นวิทยาศาสตร์กับสังคมกับนักเรียนที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบปกติ 2) เปรียบเทียบความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียน ที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ประเด็น วิทยาศาสตร์กับสังคมกับนักเรียนที่ได้รับการจัดกิจ กรรมการเรียนรู้แบบปกติ และ 3) เปรียบเทียบความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียน ที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ประเด็นวิทยาศาสตร์กับสังคม ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ หอวัง นนทบุรี จำนวน 2 ห้องเรียน ที่ได้มาโดยการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื้องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ (1) แผนการจัดการเรียนรู้ที่จัดกิจ กรรมการเรียนรู้โดยใช้ประเด็น วิทยาศาสตร์กับสังคม วิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง อาหารกับการดำรงชีวิต (2) แผนการจัดการเรียนรู้ที่่ีจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบปกติ วิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง อาหารกับการดำรงชีว ิต (3) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ และ (4) แบบวัดความสามารถในการคิดวิเคราะห์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่ได้ร ับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ประเด็นวิทยาศาสตร์กับสังคม เรื่องอาหารกับการดำรงชีวิต มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่านักเรียนที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (2) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่ได้รับ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ประเด็นวิทยาศาสตร์กับสังคม เรื่องอาหารกับการดำรงชีวิต มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์สูงกว่านักเรียนที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่่ระดับ .01 และ (3) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ประเด็นวิทยาศาสตร์กับสังคม เรื่องอาหารกับการดำรงชีวิต มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำตัญทางสถิติที่ระดับ .01 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/ | - |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกวิทยาศาสตร์ศึกษา --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | วิทยาศาสตร์--กิจกรรมการเรียนการสอน | th_TH |
dc.subject | วิทยาศาสตร์--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)--ไทย--นนทบุรี | th_TH |
dc.title | ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ประเด็นวิทยาศาสตร์กับสังคมที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์และความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จังหวัดนนทบุรี | th_TH |
dc.title.alternative | The effects of learning management using the Socio-Scientific lssue (SSI) on science learning achievement and analytical thinking ability of Mathayom Suksa II students in Nonthaburi Province | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2017.79 | - |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (วิทยาศาสตร์ศึกษา) | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were (1) to compare science learning achievement of the students learning under the socio-scientific issue (SSI) learning management approach with that of the students learning under the conventional learning management; (2) to compare analytical thinking ability of the students learning under the socio-scientific issue (SSI) learning management approach with that of the students learning under the conventional learning management; and (3) to compare the pre-learning and post-learning analytical thinking abilities of the students learning under the socio-scientific issue (SSI) learning management approach. The research sample consisted of Mathayom Suksa II students in two intact classrooms of Nawamintharachinuthit Horwang Nonthaburi School during the 2018 academic year, obtained by multi-stage random sampling. The research instruments comprised (1) learning activities management plans for the socio- scientific issue (SSI) approach in the science topic of Food and Living at Mathayom Suksa II level, (2) learning activities management plans for the conventional learning management in the science topic of Food and Living at Mathayom Suksa II level, (3) a science learning achievement test, and (4) an analytical thinking ability assessment scale. Statistics employed for data analysis were the mean, standard deviation and t- test. The research findings were that (1) Mathayom Suksa II students learning under the socio-scientific issue (SSI) learning management approach in the science topic of Food and Living had science learning achievement significantly higher than the counterpart achievement of the students learning under the conventional learning management at the .01 level; (2) Mathayom Suksa II students learning under the socio-scientific issue (SSI) learning management approach in the science topic of Food and Living had analytical thinking ability significantly higher than the counterpart ability of the students learning under the conventional learning management at the .01 level; and (3) the post-learning analytical thinking ability of Mathayom Suksa II students learning under the socio-scientific issue (SSI) learning management approach was significantly higher than their pre-learning counterpart ability at the .01 level. | - |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT_157875.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 3.24 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License