Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/628
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมร ทองดี, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorปรีชา วิหคโต, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorพันธนีย์ วิหคโต, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวารี คชศิลา, 2501--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-16T09:18:09Z-
dc.date.available2022-08-16T09:18:09Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/628-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การแนะแนว))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2546th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อการตัดสินใจเลือกศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 (2) คึกษาความเข้าใจในการตัดสินใจเลือกศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปึที่ 4 ที่ใช้ชุดกิจกรรมแนะแนว และ (3) ศึกษาความพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่มีต่อชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อการตัดสินใจเลือกศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา กลุ่มตัวอย่างพี่ใช้ในการวิจัย เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนสองพี่น้องวิทยาจำนวน12 คนได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ (1) ชุดกิจกรรมแนะแนวเพี่อการตัดสินใจเลือกศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่4 โดยใช้ขั้นตอนการเรียนรู้เชิงประสบการณ์ (2) แบบทดสอบความเข้าใจในการตัดสินใจเลือกศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา และ (3) แบบสอบถามความพอใจของนักเรียนต่อชุดกิจกรรมแนะแนว สถิติที่ ใช้ในการวิจัย ได้แก่ การหาประสิทธิภาพ £1 /E2 ค่าเฉลิ่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าทีผลการวิจัยพบว่า (1) ชุดกิจกรรมแนะแนวที่พัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 (2) นักเรียนมีความเข้าใจในการตัดสินใจเสือกศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาสูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ(3) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 มีความพอใจต่อชุดกิจกรรม แนะแนวเพื่อการตัดสินใจเลือกศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาอยู่ในระดับมากth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2003.50-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนว --วิทยานิพนธ์.th_TH
dc.subjectการแนะแนว--เครื่องมือth_TH
dc.subjectนักเรียนมัธยมศึกษา--การศึกษาต่อth_TH
dc.subjectกิจกรรมของนักเรียนth_TH
dc.titleการพัฒนาชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อการตัดสินใจเลือกศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนสองพี่น้องวิทยา จังหวัดสุพรรณบุรีth_TH
dc.title.alternativeThe development of a guidance activities package on decision making for further study at the higher education level for Mathayom Suksa IV students at Songpheenongwittya Supun Buri provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2003.50-
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to develop a guidance activities package on decision making for further study at the higher education level for Mathayom Suksa VI students to meet the set standard of 80/80; (2) to study the understanding of the students who used the guidance activities package; and (3) to survey the students' satisfaction with the guidance activities package. The sample consisted of 12 upper secondary students of Songpheenongwittaya School 1 who were selected purposively. The research instruments were (1) the guidance activities package on decision making for further study at the higher education level based on the procedure of experiential learning; (2) a test to assess student's understanding of decision making for further study; and (3) a questionnaire on the students' satisfaction with the guidance activities package. The statistics for data analysis were the E,/E2, mean, standard deviation, and t-test. The findings of this study were (1) the efficiency of the guidance activities package met the set standard of 80/80 ; (2) the students’ understanding on making decision for futher study at the higher education level significantly increased at the .05 level; and(3) the students’ satisfaction with the guidance activities package was at the high levelen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
83152.pdfเอกสารฉบับเต็ม8.64 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons