Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6296
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวัลภา สบายยิ่ง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorนิรนาท แสนสา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorณิชารีย์ ปุรณะ, 2519--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-05-30T03:48:23Z-
dc.date.available2023-05-30T03:48:23Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6296-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาปัจจัยด้านบุคลิกภาพ ความพึงพอใจในงาน และความผูกพันต่อองค์การของพนักงานบริการลูกค้าสวนอุตสาหกรรม 304 ปราจีนบุรี 2) เปรียบเทียบระดับความผูกพัน ต่อองค์การของพนักงานบริการลูกค้า จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล 3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัย ด้านบุคลิกภาพ และความพึงพอใจในงานกับความผูกพันต่อองค์การ และ 4) ศึกษาอำนาจพยากรณ์ความผูกพันต่อองค์การของพนักงานบริการลูกค้า จากปัจจียด้านบุคลิกภาพ และความพึงพอใจในงาน กลุ่มตัวอย่าง เป็นพนักงานบริการลูกค้าสวนอุตสาหกรรม 304 ปราจีนบุรี จำนวน 200 คน กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอยา่งโดยวิธีของยามาเน่ และสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิตามสัดส่วน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามความผูกพันต่อองค์การที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น แบ่งเป็น ตอนที่1 แบบสอบถามปัจจัยส่วนบุคคล ตอนที่ 2 แบบสอบถามบุคลิกภาพ ตอนที่ 3 แบบสอบถามความพึงพอใจในงาน และตอนที่ 4 แบบสอบถามความความผูกพันต่อองค์การ แบบสอบถามมีค่าความเที่ยงทั้ง ฉบับ เท่ากับ 0.86 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าคะแนนเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว การวิเคราะห์สหสัมพีนธ์เพียร์สัน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยปรากฏว่า 1) ปัจจัยด้านบุคลิกภาพ ความพึงพอใจในงาน และความผูกพัน ต่อองค์การของพนักงานบริการลูกค้า โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง 2) พนักงานบริการลูกค้า ที่มีปัจจัย ส่วนบุคคลด้านรายได้เฉลี่ยต่อเดือนต่างกัน มีความผูกพันต่อองค์การแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนพนักงานบริการลูกค้า ที่มีปัจจัยส่วนบุคคลด้านเพศ อายุ สถานภาพ การศึกษา ระยะเวลาการปฏิบัติงาน และตำแหน่งงานต่างกัน มีความผูกพัน ต่อองค์การไม่แตกต่างกัน 3) ปัจจัยด้านบุคลิกภาพและความพึงพอใจในงานมีความสัมพันธ์กับความผูกพัน ต่อองค์การของพนักงานบริการลูกค้า อย่างมีนัยสคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 4) ตัวแปรด้านความพึงพอใจในงานสามารถพยากรณ์ความผูกพัน ต่อองค์การได้ร้อยละ 31 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectความผูกพันต่อองค์การth_TH
dc.subjectความพอใจในการทำงานth_TH
dc.titleปัจจัยด้านบุคลิกภาพ ความพึงพอใจในงานที่ส่งผลต่อความผูกพันต่อองค์การของพนักงานบริการลูกค้าสวนอุตสาหกรรม 304 ปราจีนบุรีth_TH
dc.title.alternativeFactors of personality and job satisfaction affecting organizational commitment of customer service employees in Industrial Park 304, Prachinburi Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2016.180-
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe propose of this research were 1) to study factor of personality, job satisfaction and organization commitment level of Customer Services Staff in 304 Industrial Park Prachin Buri; 2) the comparison between personal characteristics and organization commitment level; 3) to study the relationship among factor of personality, job satisfaction and organization commitment; and 4) to study the predict power of factor of personality, job satisfaction influencing organization commitment. The research sample consisted of 200 customer services staff in 304 Industrial Park Prachin Buri, were analyzed by Yamaha’s method, obtained by proportional stratified random sampling. The instruments for data collection was a questionnaire have 4 parts by using 1) personal questionnaires 2) personality questionnaires 3) job satisfaction questionnaires and 4) organization commitment questionnaires. The research instrument was a rating scale questionnaire with .86 level of reliability. The data were analyzed using the frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, one-way ANOVA, Person’s Products Moment Correlation Coefficient, Multiple Regression Analysis. The results show that: 1) The factor of personality, job satisfaction and organization commitment is at moderate levels. 2) The investigated indicate that staff with different salary had significantly different with organization commitment at the .05 level with sex, age, status, education, experience and job position different was not significantly different at .05 level. 3) The factor of personality and job satisfaction had significantly related to organizational commitment at the .05 level and 4) Job satisfaction showed a significant of predictive ability to organization commitment at the 31 percent and at the .05 level.-
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT_158640.pdfเอกสารฉบับเต็ม15.03 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons