Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6329
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนวลจิตต์ เชาวกีรติพงศ์, อาจารย์ที่ปรึกษาen_US
dc.contributor.advisorดวงเดือน สุวรรณจินดา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอุทัยวรรณ ปันคำ, 2534--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-05-30T07:50:54Z-
dc.date.available2023-05-30T07:50:54Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6329-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ด้านทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ระดับพื้นฐานของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 ของโรงเรียนประถมศึกษาในตำบลสันต้นหมื้อ อำเภอแม่อาย จังหวัดเชียงใหม่ ก่อนและหลังการเรียนด้วยชุดกิจกรรมฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ระดับพื้นฐาน และ (2) เปรียบเทียบเจตคติทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนดังกล่าวระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียนชั้ประถมศึกษาปีที่ 4-6 ปีการศึกษา 2562 ในโรงเรียนบ้านสันปอธง ซึ่งเป็นโรงเรียนประถมศึกษาในตำบลสันต้นหมื้อ จำนวน 22 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือวิจัย ได้แก่ (1) ชุดกิจกรรมฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ระดับพื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 (2) แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ระดับพื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 และ (3) แบบวัดเจตคติทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่่ี 4-6 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) ผลสัมฤทธิ์ด้านทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 ที่เรียนโดยการใช้ชุดกิจกรรมฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ระดับพื้นฐาน หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (2) เจตคติทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 ที่เรียนโดยการใช้ชุดกิจกรรมฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ระดับพื้นฐานหลังเรียนสูงกว่า ก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกวิทยาศาสตร์ศึกษา --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectวิทยาศาสตร์--กิจกรรมการเรียนการสอนth_TH
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน--วิทยาศาสตร์th_TH
dc.subjectวิทยาศาสตร์--การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)--ไทย--เชียงใหม่th_TH
dc.titleผลการใช้ชุดกิจกรรมฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ระดับพื้นฐานที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ด้านทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเจตคติทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 ของโรงเรียนประถมศึกษาในตำบลสันต้นหมื้อ จังหวัดเชียงใหม่th_TH
dc.title.alternativeThe effects of using basic science process skills activity training packages on science process skills learning achievement and scientific attitudes of Prathom Suksa IV-VI students of primary schools in Sun Ton Mue sub-district of Chaing Mai Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (วิทยาศาสตร์ศึกษา)th_TH
dc.degree.levelศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (วิทยาศาสตร์ศึกษา)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to compare science process skills learning achievements of Prathom Suksa IV – VI students of primary schools in Sun Ton Mue sub-district of Chiang Mai province before and after learning with the use of a basic science process skills activity training package; and (2) to compare scientific attitudes of the students before and after learning with the use of the basic science process skills activity training package. The research sample consisted of 22 Prathom Suksa IV – VI students in Ban San Por Thong School, which is a primary school in San Ton Mue sub-district, Chiang Mai province, obtained by cluster random sampling. The employed research instruments included (1) a basic science process skills activity training package for Prathom Suksa IV – VI students, (2) a basic science process skills learning achievement test for Prathom Suksa IV – VI students, and (3) a scale to assess scientific attitude of Prathom Suksa IV – VI students. Statistics for data analysis were the mean, standard deviation, and t-test. Research findings showed that (1) the post-learning science process skills learning achievement of Prathom Suksa IV – VI students who learned with the use of a basic science process skills activity training package was significantly higher than their pre-learning counterpart achievement at the .05 level of statistical significance; and (2) the post-learning scientific attitude of Prathom Suksa IV – VI students who learned with the use of the basic science process skills activity training package was significantly higher than their pre-learning counterpart attitude at the .05 level of statistical significance.-
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT_163590.pdfเอกสารฉบับเต็ม23.95 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons