Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6365
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกาญจนา วัธนสุนทรth_TH
dc.contributor.authorทับทิม จันทร์จู, 2514-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-06-13T01:29:15Z-
dc.date.available2023-06-13T01:29:15Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6365en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัฅถุประสงค์เพื่อพัฒนาและตรวจสอบคุณภาพเกณฑ์ประเมินกิจกรรม พัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สำหรับโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุพรรณบุรี เขต 2 จังหวดสุพรรณบุรี กลุ่มตัวอย่างที่ใช้โนการศึกษามี 2 กลุ่ม กลุ่มแรก คือ กลุ่มที่ใช้ในการพัฒนาเกณฑ์ ประกอบด้วยผู้เชี่ยวชาญในการเรียนการสอนกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนชี่งเป็นบุคคลากรในโรงเรียน และศึกษานิเทศน์ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุพรรณบุรี เขต 2 จังหวัดสุพรรณบุรี จำนวน 17 คน ได้แก่หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 10 คน ครูผู้สอนรายวิชา กิจกรรมลูกเสือ 2 คน ครูผู้สอนรายวิชากิจกรรมแนะแนว 2 คน ครูผู้สอนรายวิชากิจกรรมชุมนุม 1 คน และศึกษา นิเทศก์ 2 คน กลุ่มที่สอง คือกลุ่มที่ใช้ตรวจสอบคุณภาพเกณฑ์ประเมินกิจกรรมพัฒนา ผู้เรียน ประกอบด้วย ครูผู้สอนรายวิชากิจกรรมพัฒนาผู้เรียน โรงเรียนหนองวัลย์เปีรยง วิทยา จำนวน 15 คน ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจงตามเกณฑ์ที่กำหนด เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ แบบสอบถามความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ และแบบสอบถามความคิดเห็นของครูเกี่ยวกับความเหมาะสมของเกณฑ์ วิเคราะหข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา ค่ามัธยฐาน ค่าพิสัยระหว่างควอไทค์ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบนเบี่ยงมาตรฐานผลการวิจัยได้เกณฑ์ประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สำหรับโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุพรรณบุรี เขต 2 จังหวัดสุพรรณบุรี ชี่งประกอบด้วยตัวบ่งชี้ 18 ตัวและเกณฑ์การให้คะแนนของตัวบ่งชี้มีลักษณะเป็นมาตรประเมินค่า 4 ระดับ สามารถนำไปใช้ประเมินครอบคลุมคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 8 ประเด็น และเกณฑ์ที่พัฒนาขึ้น เป็นเกณฑ์ที่ครูผู้สอนกิจกรรมพัฒนา ผู้เรียนให้ควานคิดเห็นว่ามีควานเหมาะสมในระดับมากถึงมากที่สุดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2010.10en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุพรรณบุรี เขต 2th_TH
dc.subjectนักเรียนมัธยมศึกษา--ไทย--สุพรรณบุรีth_TH
dc.subjectนักเรียนมัธยมศึกษา--การประเมินth_TH
dc.titleการพัฒนาเกณฑ์ประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สำหรับโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุพรรณบุรี เขต 2 จังหวัดสุพรรณบุรีth_TH
dc.title.alternativeDevelopment of criteria for evaluation of learner development activities for Mathayom Suksa III students in schools under the Office of Suphan Buri Educational Service Area 2, Suphan Buri provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to develop and verify the quality of criteria for evaluation of learner development activities for Mathayom Suksa III students in schools under the Office of Suphan Buri Educational Service Area 2, Suphan Buri province. The employed research sample comprised two groups. The first group was employed in the development of evaluation criteria comprising 17 experts on instruction of learner development activities who were personnel in schools and supervisors under the office of Suphan Buri Educational Sendee Area 2. It consisted of 10 heads of the Learner Development Activities Learning Area, two teachers of Boy Scout activities, two teachers of guidance activities, one teacher of club activities, and two supervisors. The second group was the group employed for quality verification of the developed criteria for evaluation of learner development activities. It consisted of 15 teachers who taught learner development activities at Nong Priang Witthaya School, obtained by purposive sampling based on set criteria. The employed data collecting instruments were an interview form for experts, a questionnaire on expert’s opinion, and a questionnaire on teacher’s opinion toward appropriateness of the evaluation criteria. Data were analyzed using content analysis, the median, inter-quartile range, mean, and standard deviation. Research findings showed that the developed criteria for evaluation of learner development activities for Mathayom Suksa III students in schools under the Office of Suphan Buri Educational Service Area 2, Suphan Buri province comprised 18 indicators together with 4-rating scale scoring criteria. They could be used to evaluate the eight desirable characteristics. The teachers who taught learner development activities had opinions that the developed criteria were appropriate at the very high to highest levelsen_US
dc.contributor.coadvisorอรสา โกศลานันทกุลth_TH
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
119093.pdfเอกสารฉบับเต็ม6.41 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons