Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6373
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุพักตร์ พิบูลย์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสมคิด พรมจุ้ย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวิมล สุวรรณโชติ, 2521--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-06-13T05:49:06Z-
dc.date.available2023-06-13T05:49:06Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6373-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพของชุมชน ในการ ป้องกันและแก้ไขปัญหาเด็กและเยาวชน ในจังหวัดนนทบุรี และ (2) ตรวจสอบคุณภาพของตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพ ของชุมชน ในการป้องกันและแก้ไข ปัญหาเด็กและเยาวชน ในจังหวัดนนทบุรี กลุ่มตัวอย่างผู้ให้ข้อมูลและกลุ่มชุมชนเพื่อการตรวจสอบคุณภาพของตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพของ ชุมชน ในการป้องกันและแก้ไข ปัญหาเด็กและเยาวชน ประกอบด้วย (1) กลุ่มผู้เชี่ยวชาญด้านการป้องกันและ แก้ไขปัญหาเด็กและเยาวชน รวม 20 คน (2) กลุ่มผู้เชี่ยวชาญหรือผู้มีประสบการณ์ในชุมชน จังหวัดนนทบุรี จำนวน 228 ชุมชน และ (3) กลุ่มตัวอย่างชุมชนที่มีผลการตัดสินจากโครงการการพัฒนาชุมชนดีเด่นใน ระดับสูงและกลุ่มชุมชนทั่วไป จำนวน 20 ชุมชน ผู้ให้ข้อมูลคือผู้แทนชุมชน จำนวน 20 คน โดยทั้ง 3 กลุ่ม ใช้วิธีการเลือกแบบเจาะจงตามเกณฑ์ที่กำหนด เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม ประเภทมาตรประมาณค่า และแบบประเมินชนิดมาตรประมาณค่าเชิงพฤติกรรม สถิติทึ่ใข้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่ามัธยฐาน ค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัย ปรากฎว่า ได้ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพของชุมชน ในการป้องกันและแก้ไข ปัญหาเด็ก และเยาวชน ในจังหวัดนนทบุรี ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบหลัก 30 ตัวบ่งชี้ คือ (1) องค์ประกอบด้านปัจจัย นำเข้า 9 หัวบ่งชี้ (2) องค์ประกอบด้านกระบวนการ I I หัวบ่งชี้ และ (3) องค์ประกอบด้านผลผลิต 10 ตัวบ่งชี้ สำหรับผลการตรวจสอบคุณภาพของตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพของชุมชนในการป้องกันและแก้ไขปัญหาเด็ก และเยาวชน พบว่า มีความตรงตามโครงสร้าง กล่าวคือ สามารถจำแนกความแตกต่างด้านประสิทธิภาพของ ชุมชนกลุ่มรู้ชัด โดยปรากฏคะแนนผลการประเมินในกลุ่มชุมชนพัฒนาดีเด่น สูงกว่า กลุ่มชุมชนทั่วไป อย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระด้บ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2009.175en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectประสิทธิภาพ -- การประเมินth_TH
dc.subjectเด็กที่เป็นปัญหา -- การศึกษาและการสอนth_TH
dc.titleการพัฒนาตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพของชุมชนในการป้องกันและแก้ไขปัญหาเด็กและเยาวชน ในจังหวัดนนทบุรีth_TH
dc.title.alternativeDevelopment of efficiency indicators of the community in preventing and solving children and youths problems in Nonthaburi provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to (1) develop efficiency indicators of the community in preventing and solving children and youths problems in Nonthaburi province; and (2) verify quality of the developed efficiency indicators of the community in preventing and solving children and youths problems in Nonthaburi province. The samples for this study consisted of (1) a group of 20 experts in preventing and solving children and youths problems; (2) a group of 228 experts or people who had community experiences in Nonthaburi province; and (3) a sample of 20 community representatives to provide data on 20 communities some of with received the highly outstanding assessment result for their community development projects, while others received just the ordinary assessment result for their community development projects. All members of the three groups in the sample were purposively selected based on set criteria. The employed data collecting instruments were a rating scale questionnaire, and a behavior rating assessment form. Statistics employed for data analysis were the median, inter-quartile rang, mean, standard deviation, and t-test. The research findings revealed that the developed efficiency indicator of the community in preventing and solving children and youths problems in Nonthaburi province comprised 3 main components with 30 indicators as follows; (1) the input component with 9 indicators; (2) the process component with 11 indicators; and (3) the output component with 10 indicators. As for the results of quality verification of the developed indicators, it was found that they had construct validity as they could discriminate the efficiency of two known groups of communities as revealed by the assessment scores for the group of communities with highly outstanding development projects being significantly higher than the counterpart scores for the group of communities with ordinary development projects at the .05 levelen_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
122372.pdfเอกสารฉบับเต็ม7.72 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons