Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6374
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิรัช วิรัชนิภาวรรณ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorศิรินทร์ ธูปกลํ่า, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorดุลย์ รัตนะ-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-06-13T06:30:42Z-
dc.date.available2023-06-13T06:30:42Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6374-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารรัฐกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551th_TH
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อศึกษา (1) สภาพการบริหารจัดการด้านการ ให้บริการประชาชนของสถานีตำรวจภูธรมายออำเภอมายอจังหวัดปัตตานี (2) ปัญหาการบริหาร จัดการด้านการให้บริการประชาชนของสถานีตำรวจภูธรมายอ อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี และ (3) แนวทางการปรับปรุงการบริหารจัดการด้านการให้บริการประชาชนของสถานีตำรวจภูธรมายอ อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี ทั้งนี้ ได้นำการบริหารจัดการตามแนวทางการบริหารกิจการบ้านเมือง ที่ดีมาเป็นกรอบแนวคิดในการศึกษาครั้งนี้ ในการศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ โดยใช้แบบสอบถามซึ่งผ่านการทดสอบหา ความเที่ยงตรงและความเชื่อถือได้ที่ระดับ 0.82 กลุ่มตัวอย่าง คือ ข้าราชการตำรวจของสถานี ตำรวจภูธรมายอ และประชาชนในพื้นที่อำเภอมายอ รวม 1,243 คน การเก็บรวบรวมข้อมูลสนาม ดำเนินการระหว่างวันที่ 1 กรกฎาคม 2551 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2551 เก็บรวบรวมแบบสอบถาม กลับคืนมาได้ 1,048 คน คิดเป็นร้อยละ 84.31 ของกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด สถิติที่ใชั คือ ค่ารัอยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการศึกษาปรากฏว่า (1) สถานีตำรวจภูธรมายมีประสิทธิภาพสูงในการบริหาร จัดการ (2) ปัญหาที่สำคัญ คือ สถานีตำรวจภูธรมายอไม่จัดจุดให้บริการประชาชนที่เหมาะสม (3) แนวทางการปรับปรุงการบริหารจัดการด้านการให้บริการประชาชนที่สำคัญ คือ สถานีตำรวจภูธร มายอควรจัดจุดให้บริการประชาชนให้เหมาะสมเพิ่มมากขึ้น และประชาสัมพันธ์ขั้นตอนการ ให้บริการแก่ประชาชน นอกจากนี้การสำรวจความต้องการของประชาชนเกี่ยวกับการรับบริการ อย่างเป็นประจำเป็นสิ่งจำเป็นยิ่งอีกด้วยth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2008.338-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectสถานีตำรวจภูธรมายอ--การบริหารth_TH
dc.subjectการบริหารรัฐกิจ--ไทยth_TH
dc.titleการปรับปรุงการบริหารจัดการด้านการให้บริการประชาชนของสถานีตำรวจภูธรมายอ อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี ตามแนวทางการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีth_TH
dc.title.alternativeThe improvement of management administration regarding people service of the Mayo Provincial Police Station, Mayo District, Pattani Province according to the good governance guidelineth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2008.338-
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe main purposes of this study were to study (1) the situations of management administration regarding people service of the Mayo Provincial Police Station, Mayo District, Pattani Province; (2) problems of management administration regarding people service of the Mayo Provincial Police Station, Mayo District, Pattani Province; and (3) improvement guidelines of management administration regarding people service of the Mayo Provincial Police Station, Mayo District, Pattani Province. The management administration according to the Good Governance Guideline was applied as conceptual framework of this study. This study was a survey research by using questionnaires. The questionnaires were being pre-tested and checking for validity and reliability of questionnaire at 0.82 level. Samples of 1,243 were officials of the Mayo Provincial Police Station and the people in Mayo District. Field data was collected during July 1, 2008 to September 30.2008 1,048 sets of questionnaire were collected, making 84.31% of total samples. Statistics that used for data analysis were percentage, mean, standard deviation, and t-test. The study results indicated that (1) Mayo Provincial Police Station had high efficiency of management administration; (2) significant problem was the Mayo Provincial Police Station’s setting inappropriate service sub-stations; and (3) significant improvement guidelines of management administration regarding people service was: the Mayo Provincial Police Station should increase the appropriate service sub-stations and inform continuously process of service to people; in addition, the regular survey of people’s service needs is essentialen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
109986.pdfเอกสารฉบับเต็ม7.45 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons