กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6390
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorสฤษดิ์พงษ์ ลิมปิษเฐียร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorกิจจา แตงรอด, 2500-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-06-13T07:50:37Z-
dc.date.available2023-06-13T07:50:37Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6390en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพการปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่ของ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในโรงเรียนสังกัด เทศบาลในจังหวัดตาก และ (2) เปรียบเทียบการ ปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในโรงเรียน สังกัดเทศบาลใน จังหวัดตาก โดยจําแนกตามกลุ่มของคณะกรรมการ เพศ อายุ และระดับการศึกษา กลุ่มตัวอย่าง คือ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในโรงเรียนสังกัดเทศบาลในจังหวัด ตาก ทั้งหมด 8 โรงเรียน จํานวน 120 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นแบบสอบถาม แบบ มาตร ประมาณค่า วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาวิจัยพบว่า (1) สภาพการปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการ สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยภาพรวมทั้ง 12 บทบาทอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายบทบาทพบว่า บทบาทที่ 9 การเสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างสถานศึกษากับชุมชน ตลอดจนประสานงานระหว่าง องค์กรทั้ง ภาครัฐ และเอกชน เพื่อให้สถานศึกษาเป็นแหล่งวิทยาการของชุมชน และมีส่วนร่วมในการ พัฒนาชุมชนท้องถิ่น มีสภาพการปฏิบัติงานมากและสูงกว่าบทบาทอื่นๆ ส่วนบทบาทที่ 11 การแต่งตั้ง ที่ปรึกษา และหรือคณะอนุกรรมการเพื่อดําเนินการตามระเบียบนี้ ตามที่เห็นสมควรมีสภาพการ ปฏิบัติงานมาก แต่ต่ำกว่าบทบาทอื่นๆ (2) เปรียบเทียบการปฏิบัติหน้าที่ระหว่างกลุ่มต่าง ๆ พบว่า ผู้บริหาร ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้แทนศิษย์เก่า ผู้แทนผู้ปกครอง และครู มี การปฏิบัติงานในระดับมาก ส่วนผู้แทนองค์กรชุมชน มีการปฏิบัติในระดับกลาง เมื่อเปรียบเทียบการ ปฏิบัติหน้าที่โดยภาพรวม จําแนกตามเพศ อายุ และระดับการศึกษา พบว่าทั้งเพศชายและเพศหญิงมีการ ปฏิบัติในระดับมาก ช่วงอายุ 20 - 30 ปีมีการปฏิบัติในระดับปานกลาง ช่วงอายุอื่น ๆ มีการปฏิบัติใน ระดับมาก ระดับการศึกษาปริญญาโท ปริญญาตรี และประถมศึกษา มีสภาพการปฏิบัติงานในระดับมาก ส่วนระดับการศึกษาอื่น ๆ มีสภาพการปฏิบัติงานในระดับปานกลางth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน -- ภาระงานth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ -- บริหารการศึกษาth_TH
dc.subjectคณะกรรมการโรงเรียน -- ภาระงานth_TH
dc.titleการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในโรงเรียนสังกัดเทศบาลในจังหวัดตากth_TH
dc.title.alternativePerformance of basic education school board of Municipal Schools in Tak Provinceth_TH
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Edu-Independent study

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
fulltext_113314.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.03 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License Creative Commons