Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6394
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจีราภรณ์ สุธัมมสภา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorไมตรี วสันติวงศ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorศันสนีย์ สุ่มกล่ำ-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-06-13T08:06:31Z-
dc.date.available2023-06-13T08:06:31Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6394-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบของการใช้เครื่องมือจัดระบบ แถวคอยกับการให้บริการงานทะเบียนราษฎร โดยใช้กรอบแนวคิดของทฤษฎี Balanced Scorecard มาช่วยในการวิจัยถึงผลกระทบใน 4 มุมมองคือ (1) ด้านการเงิน (2) ด้านผู้รับบริการ (3) ด้านกระบวนการภายใน (4) ด้านการเรียนรู้และพัฒนา วิธีการศึกษา ศึกษาจากข้อมูลประชาชนที่มาขอใช้บริการงานทะเบียนราษฎรจากสำนัก ทะเบียนอำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี สังกัดสำนักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ในช่วงเวลาตั้งแต่เดือน พฤษภาคม 2548 ถึงเดือนธันวาคม 2550 โดยผ่าน ระบบแถวคอย ตั้งแต่เวลา 8.00 ถึง 16.00 นาฬิกา ของวันจันทร์ถึงวันศุกร์ เป็นจำนวนทั้งหมด 33,150 รายการ และใช้แบบสัมภาษณ์ผู้บริหารและเจ้าหนัาที่ปฏิบัติงานทะเบียนราษฎรสำหรับ ข้อมูลเชิงคุณภาพ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่ากลาง ค่ากระจาย การทดสอบที และการวิเคราะห์เนื้อหา โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปช่วยในการวิเคราะห์ ผลการวิชัยพบว่าการใช้เครื่องมือจัดระบบแถวคอยส่งผลต่อ (1) ด้านการเงิน ทำให้ ต้นทุนการให้บริการต่อหน่วยน้อยลง (2) ด้านผู้รับบริการ ทำให้เวลารอคอยเฉลี่ยของประชาชน ที่มารอรับบริการลดลง (3) ต้านกระบวนการภายใน ทำให้จำนวนประชาชนที่เจ้าหน้าที่แต่ละคน สามารถให้บริการได้ภายในวันมีจำนวนเฉลี่ยมากขึ้น (4) ด้านการเรียนรู้และพัฒนา ทำให้เวลา ให้บริการเฉลี่ยของเจ้าหน้าที่งานทะเบียนราษฎรลดลงth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2008.323-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectสำนักทะเบียนอำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานีth_TH
dc.subjectบริการงานทะเบียนราษฎรth_TH
dc.titleผลกระทบของการใช้เครื่องมือจัดระบบแถวคอยกับการให้บริการงานทะเบียนราษฎร กรณีศึกษาสำนักทะเบียนอำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานีth_TH
dc.title.alternativeImpact of deployment [i. e. devolopment] of queuing tools in registration services : a case study of the Office of Registration Lumlukka District, Pratumtani Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2008.323-
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study the impact of deployment of queuing tools in registration services by using Balanced Scorecard Theory to find impact on : (1) financial (2) customers (3) internal process and (4) educational and development This research was conducted by using data from people receiving registration services in the office of registration Lamlookka District, Prathumthani Province by waiting in line system during 8.00 - 16.00 o’clock, from Monday to Friday during the period of May 2005 to December 2007 with total of 33,150 queues.This office was under the control of the Bureau of registration administration, Department of Local Administration, ministry of interior. A questionnaire was used for interviewing administrations and registration offices as qualitative data. Statistic used were mean , median, distribution frequency , t-test and content analysis . Result showed that using mechanical tools to manage queuing system had impact on (1) Financial : decreased capital of service per unit; (2) Customers : decreased waiting time of customers in line; (3) Internal Process : increased the average number of customers served by the offices per day; and (4) Educational and Development : decrease average service time of officess per clienten_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
110004.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.63 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons