Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/643
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุวิทย์ ไพทยวัฒน์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorไพฑูรย์ มีกุศล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorเสาวภา ไพทยวัฒน์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวริษา วงษ์วิเชียร, 2513--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-17T02:24:38Z-
dc.date.available2022-08-17T02:24:38Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/643-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (ไทยคดีศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ()) ความเป็นมาในการตั้งถิ่นฐานของคนไทยเชื้อสายเวียดนามที่นับถึอศาสนาคริสฅ์นิกายโรมันคาทอลิกในอำเภอองครักษ์จังหวัดนครนายก (2) ปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอก ที่มีผลทำใหัเกิดการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตในหมู่บ้าน (3) สภาพวิถีชีวิตทางเศรษฐกิจสังคม และวัฒนธรรมในปัจจุบันการวิจัยเน้นแบบเชิงคุณภาพ โดยใช้วิธีการสังเกตแบบมีส่วนร่วม และไม่มีส่วนร่วม และรวมถึงการสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ หัวหน้าครอบครัวชาวไทยเชื้อสายเวียดนาม ผู้รู้ และผู้ที่เกี่ยวข้องผลการวิจัยพบว่า 1.ถิ่นเดิมของคนไทยเชื้อสายเวียดนามในหมู่บ้านญวน อำเภอองครักษ์จังหวัดนครนายก ที่นับถือศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก ได้อพยพมาจากชุมชนขาวไทยเชื้อสายเวียดนามที่สามเสน และเข้ามาอยู่ในอำเภอองครักษ์ ก่อน พ.ศ.2446 การเข้ามาครั้งแรกนั้นได้ประกอบอาชีพเกษตร ทำไร่ การประมงน้ำจึด และการทอเสื่อเพื่อเลี้ยงครอบครัวมาโดยตลอด จากการที่อพยพเข้ามาอาศัยอยู่ในหมู่บ้านญวนแห่งนี้กว่า 100 ปี ทำใหัวิถีชีวิตในปัจจุบันแตกต่างจากอดีต เนื่องจากความเจริญต่างๆ ได้แผ่ขขายเข้ามาในหมู่บ้าน ทำใหัเกิดการเปลี่ยนแปลงไปเกือบทุกด้าน และพยายามปรับตัวใหัเข้ากับสังคมไทย 2.ปัจจัยที่ทำใหัเกิดการเปลี่ยนแปลงมีอยู่ 2 ปัจจัย ถือ ปัจจัยภายใน เกิดจากชาวเวียดนามรุ่นใหม่มีความเป็นคนไทยพูคภาษาท้องถิ่นนัอยลง ดำเนินชีวิดแบบคนไทยทุกประการมีความรู้สึกว่าเขาเป็นคนไทย และชาวเวียดนามรุ่นเก่าได้ลดจำนวนลง ส่วนปัจจัยภายนอก เกิดจากสภาพแวดล้อมทางด้านเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ได้มีความเจริญกัาวหน้าในด้านบวกดังที่พบได้ในความเจริญด้านสาธารญปโภค ด้านสาธารณสุข การบริหารงานด้านท้องถิ่น ด้านสื่อสารมวลชน และด้านคมนาคม ผลด้านลบที่ครอบงำสังคมไทยในปัจจุบันได้กลึนกลายตามค่านิยมที่ไรัคุณค่าในระบบทุนนิยม และ3.สภาพวิถีชีวิตทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมในปัจจุบัน ของชาวไทยเชื้อสายเวียดนามในหมู่บ้านญวนอำเภอองครักษ์ จังหวัดนครนายก ได้เปลี่ยนแปลงทุกด้าน ทั้งด้านการศึกษา การสาธารณสุข ที่อยู่อาศัยเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ตามการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยในปัจจุบันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาไทยคดีศึกษา --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectชาวเวียดนาม--ไทย--นครนายกth_TH
dc.subjectชาวเวียดนาม--ความเป็นอยู่และประเพณีth_TH
dc.subjectคริสต์ศาสนากับสังคม--ไทย--นครนายกth_TH
dc.titleความเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตคนไทยเชื้อสายเวียดนามที่นับถือศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก : กรณีศึกษาหมู่บ้านญวน อำเภอองครักษ์ จังหวัดนครนายกth_TH
dc.title.alternativeChanging way of life of Catholic Thai-Vietnamese in Thailand : a case study of the "Juan" Village, Ongkarak District, Nakhon Nakhon Nayok Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศิลปศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research is to study (1) the background of the settlement of the Catholic Thai-Vietnamese community in the Ongkarak district; (2) both internal and external factors affecting the change of the way of life of community; (3) (he community’s present economic, social and cultural way of life. The research instruments were the observation-- both participation and non participation and the interview. The sample group were the community leaders, scholars and people concerned. Research findings revealed the following: first, the Catholic Vietnamese community had lived in the Baan Yuan, Samsaen community before they moved to the Ongkarak district in 2446 B.E. During the early period, they engaged in farming, fishing and mat weaving. After one hundred years, the way of life changed in every aspect. Second, two factors caused the change of the way of life. The internal factor was that the new generation did not speak the Vietnamese language, including their exposure to Thai society and environment such as attending Thai school, speaking the Thai language, and practicing the Thai culture. This also included the decline of the number of elder Vietnamese generation. The external factor concerned the economic, social and cultural environment. The development led to both positive and negative consequences to the community. Examples of positive consequences can be seen in the public utilities, health care, local administration communication and infrastructure. The negative consequences led to the people having values in materialism. Third, the way of life of the Thai-Vietnamese in the Ongkarak district has changed tremendously in all aspects along the line of the present situation of Thai culture and societyen_US
Appears in Collections:Arts-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม7.25 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons