Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6451
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมคิด พรมจุ้ย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสุพักตร์ พิบูลย์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorพีระพัชร์ มหาวรรณ์, 2519--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-06-16T01:09:54Z-
dc.date.available2023-06-16T01:09:54Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6451-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาฐานข้อมูลเพื่อการประเมินทักษะชีวิตด้านการปฏิบัติตนเพื่อป้องกันปัญหาสังคมสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ลำปาง เขต 2 และ (2) ตรวจสอบคุณภาพของฐานข้อมูลเพื่อการประเมินทักษะชีวิตด้านการปฏิบัติตนเพื่อป้องกันปัญหาสังคมสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ลำปาง เขต 2 ปีการศึกษา 2553 จำนวน 697 คน เครื่องมือที่ใช้วิจัย ได้แก่ ฐานข้อมูลเพื่อการประเมินทักษะชีวิตด้านการปฏิบัติตนเพื่อป้องกันปัญหาสังคม แบบวัดทักษะชีวิตและแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีการวิเคราะห์เนื้อหา ดัชนีความสอดคล้อง ฐานนิยม ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน อำนาจจำแนก ความเที่ยง และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า (1) ผลการพัฒนาฐานข้อมูลได้ฐานข้อมูลเพื่อการประเมินทักษะชีวิตด้านการปฏิบัติตนเพื่อป้องกันปัญหาสังคมสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ซึ่งเป็นฐานข้อมูลที่เก็บรายชื่อและผลการประเมินทักษะชีวิต โดยในฐานข้อมูลจะมีแบบประเมินทักษะชีวิตมีลักษณะเป็นข้อคำถามแบบสถานการณ์ 4 ตัวเลือก จำนวน 60 ข้อ เป็นการประเมินด้านยาเสพติด จำนวน 20 ข้อ ด้านพฤติกรรมทางเพศจำนวน 20 ข้อ และด้านการใช้อินเทอร์เน็ต จำนวน 20 ข้อ ผลการหาคุณภาพพบว่าคุณภาพด้านความตรงเชิงเนื้อหามีค่าระหว่าง .57-1.00 แบบประเมินทุกข้อมีอำนาจจำแนกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ความเที่ยงของแบบประเมิน ด้านยาเสพติด ด้านพฤติกรรมทางเพศ และด้านการใช้อินเทอร์เน็ต มีความเที่ยงเท่ากับ .78, 0.93 และ .98 ตามลำดับ และการหาคะแนนที่ปกติของแบบประเมินทักษะชีวิตด้านยาเสพติด มีช่วงคะแนนที่ปกติ อยู่ระหว่าง 23 – 89 ด้านพฤติกรรมทางเพศ มีช่วงคะแนนที่ปกติ ระหว่าง 19 –89 และด้านการใช้อินเทอร์เน็ต มีช่วงคะแนนที่ปกติ ระหว่าง 24 –89 และ (2) ฐานข้อมูลเพื่อการประเมินทักษะชีวิตด้านการปฏิบัติตนเพื่อป้องกันปัญหาสังคมสาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีคุณภาพด้านการประมวลผล และด้านการใช้งานอยู่ในระดับดีth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2011.121en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา -- วิทยานิพนธ์.th_TH
dc.subjectฐานข้อมูลth_TH
dc.subjectการประเมินพฤติกรรมth_TH
dc.subjectทักษะชีวิต -- การประเมินth_TH
dc.subjectทักษะทางสังคม -- การประเมินth_TH
dc.titleการพัฒนาฐานข้อมูลเพื่อการประเมินทักษะชีวิตด้านการปฏิบัติตนเพื่อป้องกันปัญหาสังคมสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 2th_TH
dc.title.alternativeDevelopment of database for assessment of life skills on self-conduct for prevention of social problems for Mathayom Suksa III students in schools under the office of Lampang Primary Education Service Area 2th_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were (1) to develop a database for assessment of life skills on self-conduct for prevention of social problems for Mathayom Suksa III students in schools under the Office of Lampang Primary Education Service Area 2; and (2) to assess the quality of the developed database for assessment of life skills on self-conduct for prevention of social problems for Mathayom Suksa III students. The sample consisted of 697 Mathayom Suksa III students studying in the 2010 academic year in schools under the Office of Lampang Primary Education Service Area 2. The employed research instruments were a database for assessment of life skills on self-conduct for prevention of social problems; a life skill assessment scale, and a questionnaire. Research data were analyzed using content analysis, IOC, mode, mean, standard deviation, discriminant index, reliability coefficient, and t-test. Research findings were as follows: (1) as a result of database development, a database for assessment of life skills on self-conduct for prevention of social problems for Mathayom Suksa III students was obtained that stored the names of students and results of assessment of life skills; also stored in the database was a 60-item scale, each of which containing four answer options, for assessment of life skills; the scale was composed of 20-item sub-scale for assessment of drug usage, 20-item sub-scale for assessment of sexual behaviors, and 20-item sub-scale for assessment of the Internet usage; quality assessment results of the scale showed that its content validity indices ranged from .57 – 1.00; every item of the scale had discriminant power that was significant at the .05 level; the reliability coefficients of .78, .93, and 0.98 were found for the drug usage sub-scale, the sexual behaviors sub-scale, and the Internet usage sub-scale, respectively; and the normalized T-scores of the drug usage sub-scale ranged from 23 – 89, those of the sexual behaviors sub-scale ranged from 19 – 89, and those of the Internet usage sub-scale ranged from 24 – 89; and (2) results of quality assessment of the developed database for assessment of life skills on self-conduct for prevention of social problems for Mathayom Suksa III students showed that its quality in the data processing aspect was rated at the high level, and its quality in the utility aspect was also rated at the high levelen_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
125634.pdfเอกสารฉบับเต็ม19.17 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons