Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6452
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวาสนา ทวีกุลทรัพย์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorปรีชา เนาว์เย็นผล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorประไพวรรณ ละอินทร์, 2521--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-06-16T01:28:22Z-
dc.date.available2023-06-16T01:28:22Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6452-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาชุดการเรียนทางอิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มสาระ การเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่อง ปริซึมและการหาปริมาตรปริซึม สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กำหนด 80/80 (2) ศึกษาความก้าวหน้าทางการเรียนของนักเรียนที่ เรียนจากชุดการเรียนทางอิเล็กทรอนิกส์ และ (3) ศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่เรียนจากชุดการ เรียนทางอิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5/1 โรงเรียนเทศบาล วัดเหมืองแดง ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2553 จำนวน 35 คน โดยวิธีการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย (1) ชุดการเรียนทางอิเล็กทรอนิกส์กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ เรื่อง ปริซึมและการหาปริมาตรปริซึม (2) แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนแบบ คู่ขนาน และ (3) แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อชุดการเรียนทางอิเล็กทรอนิกส์ สถิติ ที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าประสิทธิภาพ E1/E2 ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการ ทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า (1) ชุดการเรียนทางอิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่อง ปริซึมและการหาปริมาตรปริซึม มีประสิทธิภาพ 81.00/82.00, 81.15/82.31และ 80.96/81.15 ตามลำดับเป็นไปตามเกณฑ์ 80/80 (2) นักเรียนมีความก้าวหน้าในการเรียนจากชุดการเรียนทาง อิเล็กทรอนิกส์เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (3) นักเรียนมีความคิดเห็นต่อชุด การเรียนทางอิเล็กทรอนิกส์ ในระดับเห็นด้วยมากth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2011.274th_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectคณิตศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา) -- คอมพิวเตอร์ช่วยการสอนth_TH
dc.subjectคณิตศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา) -- ไทย -- แพร่th_TH
dc.titleการพัฒนาชุดการเรียนทางอิเล็กทรอนิกส์กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์เรื่องปริซึมและการหาปริมาตรปริซึมสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 สังกัดกองการศึกษาเทศบาลเมืองแพร่ จังหวัดแพร่th_TH
dc.title.alternativeDevelopment of an E-learning package in the mathematics learning area on the topic of prisms and finding prism volumes for Prathom Suksa V Students in Schools under the Education Division of Phrae municipality, Phrae provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were (1) to develop an e-Learning package in the Mathematics Learning Area on the topic of Prisms and Finding Prism Volumes for Prathom Suksa 5 students based on the 80/80 efficiency criterion; (2) to study the learning progress of the students learning from the e-Learning package; and (3) to study opinions of the students learning from the e-Learning package. The research sample consisted of 35 Prathom Suksa 5 students in Prathom Suksa 5/1 classroom of Tessaban Wat Mueang Daeng School in the first semester of the 2010 academic year, obtained by cluster sampling. Research tools consisted of (1) an e-Learning package in the Mathematics Learning Area on the topic of Prisms and Finding Prism Volumes, (2) two parallel forms of an achievement test for pre-testing and post-testing, and (3) a questionnaire on student’s opinion toward the e-Learning package. Statistics used for data analysis were the E1/E2 efficiency index, mean, standard deviation, and t-test. The research findings were that (1) the three units of the e-Learning package were efficient at 81.00/82.00, 81.15/82.31 and 80.96/81.15 respectively, thus meeting the set efficiency criterion of 80/80, (2) the students learning from the e-Learning package achieved learning progress significantly at the .05 level, and (3) the opinion of the students toward quality of the e-Learning package was at the “Highly Agreeable” levelen_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
125688.pdfเอกสารฉบับเต็ม21.8 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons