Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6458
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนิธิพัฒน์ เมฆขจร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorลัดดาวรรณ ณ ระนอง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวิไลวรรณ์ อนันต๊ะ, 2528--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-06-16T02:57:36Z-
dc.date.available2023-06-16T02:57:36Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6458-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบผลของการพัฒนาทักษะการ แก้ปัญหาเฉพาะหน้าของนักเรียนกลุ่มทดลอง ก่อนและหลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวควบคู่กับ สื่อรูปภาพ (2) เปรียบเทียบทักษะการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าของนักเรียนกลุ่มทดลองที่ใช้ชุด กิจกรรมแนะแนวควบคู่กับสื่อรูปภาพและกลุ่มควบคุมที่ใช้โปรแกรมการให้ข้อสนเทศ และ (3) เปรียบเทียบทักษะการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าของกลุ่มทดลอง ก่อนการทดลองกับระยะติดตามผล กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที 4 และ 5 ปี การศึกษา 2554 โรงเรียน บ้านถ้ำ จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 30 คน ที่ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม จากนั้นจึงสุ่มอย่างง่ายเป็น กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 15 คน กลุ่มทดลองใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวควบคู่กับสื่อ รูปภาพ จำนวน 17 ครั้ง ครั้งละ 50 นาที และกลุ่มควบคุมได้รับโปรแกรมการให้ข้อสนเทศ จำนวน 17 ครั้ง ครั้งละ 50 นาที เช่นเดียวกัน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ (1) ชุดกิจกรรม แนะแนวควบคู่กับสื่อรูปภาพ (2) โปรแกรมการให้ข้อสนเทศ และ (3) แบบวัดความสามารถใน การแก้ปัญหาเฉพาะหน้า ที่ีผู้วิจัยสร้างขึ้นมีค่าความเที่ียงเท่ากับ .86 สถิติที่ีใช้ในการวิเคราะห์ ข้อมูลได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบียงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า (1) หลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวควบคู่กับสื่อรูปภาพ นักเรียน กลุ่มทดลองมีทักษะการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าสูงกว่าก่อนการใช้ชุดกิจกรรม อย่างมีนัยสำคัญทาง สถิติที่ระดับ .05 (2) หลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวควบคู่กับสื่อรูปภาพ นักเรียนกลุ่มทดลอง มีทักษะการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าสูงกว่านักเรียนกลุ่มควบคุมที่ใช้โปรแกรมการให้ข้อสนเทศ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (3) ภายหลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวควบคู่กับสื่อ รูปภาพ เป็นระยะเวลา 1 เดือน นักเรียนกลุ่มทดลองมีทักษะการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าสูงกว่าก่อน การทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .051th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2011.56en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนว -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการแก้ปัญหา -- การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา) -- กิจกรรมการเรียนการสอนth_TH
dc.titleผลของการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวควบคู่กับสื่อรูปภาพเพื่อพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-5 โรงเรียนบ้านถ้ำ จังหวัดเชียงใหม่th_TH
dc.title.alternativeEffects of using a guidance activities package together with picture media to develop immediate problem solving skill of Prathom Suksa IV-V students of Ban Tham School in Chiang Mai Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were (1) to compare the effects on development of immediate problem solving skill of the experimental group students prior to and after using a guidance activities package together with picture media; (2) to compare the immediate problem solving skill of the experimental group students using a guidance activities package together with picture media with that of the control group students using a provided information program; and (3) to compare the preexperiment immediate problem solving skill of the experimental group students with their counterpart skill during the follow-up period after the experiment. The subjects were 30 Prathom Suksa IV – V students of Ban Tum School in Chiang Mai province in the 2011 academic year obtained by cluster sampling. After that, they were randomly assigned into an experimental group and a control group each of which comprised 15 students. The researcher trained the experimental group students with the use of a guidance activities package together with picture media for 17 periods of 50 minutes each; while the control group students were trained with a provided information program also for 17 periods of 50 minutes each. The employed research instruments were (1) a guidance activities package together with picture media; (2) a provided information program; and (3) an immediate problem solving skill assessment form, developed by the researcher, with .86 reliability coefficient. The employed statistics for data analysis were the mean, standard deviation, and t-test. The research findings were (1) after using the guidance activities package together with picture media, immediate problem solving skill scores of the experimental group students were significantly higher than their counterpart scores before using them at the .05 level; (2) after using the guidance activities package together with picture media, immediate problem solving skill scores of the experimental group students were significantly higher than the counterpart scores of the control group students using the provided information program at the .05 level; and (3) one month after the end of the experiment, immediate problem solving skill scores of the experimental group students were significantly higher than their preexperiment counterpart scores at the .05 levelen_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
127869.pdfเอกสารฉบับเต็ม45.06 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons