Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6459
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวัลภา สบายยิ่ง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorเจียรนัย ทรงชัยกุล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorมิเรียม ซุ้นสุวรรณ์, 2510--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-06-16T03:26:46Z-
dc.date.available2023-06-16T03:26:46Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6459-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบทักษะชีวิตด้านสังคมของนักเรียน กลุ่มทดลองก่อนและหลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตด้านสังคม (2) เปรียบเทียบทักษะชีวิตด้านสังคมของนักเรียนระหว่างกลุ่มทดลองก่อนและกลุ่มควบคุมหลัง การทดลอง และ (3) เปรียบเทียบทักษะชีวิตด้านสังคมของนักเรียนกลุ่มทดลอง ที่มีภูมิหลังทางชีว สังคมแตกต่างกัน หลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตด้านสังคม กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 ปี การศึกษา 2554 ของโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์บางกรวย จังหวัดนนทบุรี จำนวน 40 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบ กลุ่ม 1 ห้องเรียน ซึ่งมีนักเรียนหลากหลาย เครื่องมือที่ใช้คือ (1) ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนา ทักษะชีวิตด้านสังคม (2) กิจกรรมแนะแนวอื่น ๆ และ (3) แบบวัดทักษะชีวิตด้านสังคมซึ่งมีค่า ความเที่ยงเท่ากับ .82 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบน มาตรฐาน การทดสอบค่าที และการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบสองทาง ผลการวิจัยพบว่า (1) กลุ่มทดลองที่ใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตด้าน สังคม มีทักษะชีวิตด้านสังคมสูงกว่าก่อนการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตด้าน สังคมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (2) กลุ่มทดลองที่ใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนา ทักษะชีวิตด้านสังคมมีทักษะชีวิตด้านสังคมสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (3) กลุ่มทดลองที่มีภูมิหลังทางชีวสังคมต่างกัน มีทักษะชีวิตด้านสังคมไม่แตกต่างกันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2011.275en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนว -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectทักษะชีวิตth_TH
dc.subjectการแนะแนว -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)th_TH
dc.titleผลของการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตด้านสังคมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์บางกรวยจังหวัดนนทบุรีth_TH
dc.title.alternativeEffects of using a guidance activities package for development of social life skills of Mathayom Suksa II Students of Suksasongkroh Bang Kruay School in Nonthaburi Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to compare social life skills of students in the experimental group before and after using a guidance activities package for development of social life skills; (2) to compare the post-experiment social life skills of students in the experimental and control groups; and (3) to compare social life skills of the experimental group students with different bio-social backgrounds after using the guidance activities package for development of social life skills. The research sample for this study consisted of 40 Mathayom Suksa II Students in an intact heterogeneous classroom of Suksasongkroh Bang Kruay School in the 2011 academic year, obtained by cluster sampling. The employed research instruments were (1) a guidance activities package for development of social life skills; (2) other guidance activities; and (3) a scale to assess social life skills. Statistics for data analysis were the percentage, mean, standard deviation, t-test, and two-way analysis of variance. Research findings showed that (1) the post-experiment social life skills of the experimental group using the guidance activities package for development of social skills were significantly higher than their pre-experiment counterpart at the .05 level; (2) social life skills of the experimental group using the activities package for development of social life skills were significantly higher than those of the control group students at the .05 level; and (3) after using the guidance activities package for development of social skills, experimental group students with different bio-social backgrounds did not significantly differ in their social skillsen_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
127876.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.54 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons