Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6494
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนวลเสน่ห์ วงศ์เชิดธรรมth_TH
dc.contributor.authorขวัญฤทัย สุริยงค์, 2527-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-06-19T04:11:20Z-
dc.date.available2023-06-19T04:11:20Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6494en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับคุณภาพการบริการของห้างบิ๊กซีซูเปอร์เซ็นเตอร์ ในเขตจังหวัดนนทบุรี (2)เปรียบเทียบคุณภาพการบริการของห้างบิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ ในเขตจังหวัดนนทบุรี สาขารัตนาธิเบศร์ และ สาขาติวานนท์ (3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลส่วนบุคคลกับคุณภาพการบริการ (4) ศึกษาปัญหาและข้อเสนอแนะในคุณภาพการบริการของห้างบิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ ในเขตจังหวัดนนทบุริการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ กลุ่มตัวอย่างที่ใชัในการวิจัย คือ ลูกค้าที่ใช้บริการห้างบิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ ในเขตจังหวัดนนทบุริ จำนวน 400 คน โดยการเลือกตัวอย่างแบบบังเอิญเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ย ค่าไคสแควร์ และการวิเคราะห์เนี้อหาเกี่ยวกับปัญหาและข้อเสนอแนะ ผลการวิจัยพบว่า (I) ระดับคุณภาพการบริการของห้างบิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ ในเขตจังหวัดนนทบุริ ภาพรวมอยู่ในระดับพอใช้ (2) เปีรยบเทียบคุณภาพการบริการของห้างบิ้กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ ในเขตจังหวัดนนทบุรี พบว่า คุณภาพการบริการ สาขารัตนาธิเบศร์ มีค่าเฉลี่ยสูงกว่า สาขาติวานนท์ ทุกด้าน (3) ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลส่วนบุคคลกับคุณภาพการบริการ พบว่า เพศมีความสัมพันธ์กับคุณภาพการบริการทุกด้าน และวันในสัปดาห์ที่ใช้บริการมีความสัมพันธ์กับคุณภาพการบริการด้านการติดต่อสื่อสารเพียงด้านเดียว โดยมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และ (4) ปัญหาและข้อเสนอแนะพบว่าด้านความน่าเชื่อถือสินค้ามีไม่พอในช่วงส่งเสริมการขาย จึงควรจัดเตรียมสินค้าให้พอกับความต้องการของลูกค้า และด้านการเข้าใจลูกค้า สินค้ามียี่ห้อมีให้เลือกน้อย และขั้นตอนการแลกของสมนาคุณไม่มีขั้นตอนช้ดเจน ควรเพิ่มสินค้าที่มียี่ห้อให้หลากหลายและมีการจัดระบบขั้นตอนที่ชัดเจนในการแลกของสมนาคุณth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2009.218en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectบิ๊กซีซุปเปอร์เซ็นเตอร์--บริการลูกค้าth_TH
dc.subjectบริการลูกค้า--ไทย--นนทบุรีth_TH
dc.titleคุณภาพการบริการของห้างบิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ในเขตจังหวัดนนทบุรีth_TH
dc.title.alternativeService quality of Big C Super Center in Nonthaburi Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.urlhttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2009.218en_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to study service quality level of Big C Super Center in Nonthaburi Province; (2) to compare service quality of Big c Super Center at Rattanathibet and Tiwanon. branches in Nonthaburi Province; (3) to study the correlation between personal information and service quality; and (4) to study problems and suggestions from service quality of Big C Super Center in Nonthaburi Province. The research used a survey research. The research samples by were 400 customers of Big c Super Center in Nonthaburi Province selected by accidental sampling. The instruments for the data collection were questionnaires. The statistics for data analysis were percentage, mean, standard deviation, Chi-square and content analysis regarding problems and suggestions on the service quality of Big c Super Center in Nonthaburi Province. The results of the study were: (1) Overall service quality level of Big c Super Center inNonthaburi Province were at the fair level; (2) Comparison of service quality of Big C Super Center in Nonthaburi Province were found that sendee quality of Rattanathibct Branches higher than Tiwanon Branches in all aspects; (3) Correlation between personal information and service quality were found that sex correlated with service quality in all aspect; and the day of receiving service in a week, correlated with service quality in terms of communications, only with the statistical level at 0.05; and (4) Problems and suggestions were that creditability: products were not enough during sale promotion therefore, enough products should be provided to meet customers’ needs, and understanding of customers. Brandname products were not enough for selection. The process of premium redemption was not clear. Variety of brandname products should be provided and management systems with clear procedures for premium redemption should be improved.en_US
dc.contributor.coadvisorสุวีณา ตั๋งโพธิสุวรรณth_TH
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
118933.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.6 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons