Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6524
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิรัช วิรัชนิภาวรรณ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorศิรินทร์ ธูปกล่ำ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนฤนาท ศรีใจอินทร์, 2518--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-06-19T08:29:02Z-
dc.date.available2023-06-19T08:29:02Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6524-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบ (1) ปัญหาเกี่ยวกับการบริหารจัดการ ด้านการให้บริการประชาชนระหว่างโรงพยาบาลดอกคำใต้กับโรงพยาบาลจุนในจังหวัดพะเยา (2) แนว ทางการพัฒนาการบริหารจัดการด้านการให้บริการประชาชนระหว่างโรงพยาบาลดอกคำใต้กับ โรงพยาบาลจุนในจังหวัดพะเยา และ (3) ปัจจัยที่มีส่วนสำคัญทำให้แนวทางการพัฒนาการบริหารจัดการ ด้านการให้บริการประชาชนของโรงพยาบาลประสบผลสำเร็จ การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจโดยใช้แบบสอบถามซึ่งผ่านการทดสอบรวมทั้งการหาค่า ความเที่ยงตรงและความเชื่อถือได้ของแบนสอบถามที่ระดับ 0.898 โดยกลุ่มตัวอย่างมีจำนวน 1,092 คน ได้แก่ ประชาชนที่มารับบริการทางการแพทย์ของโรงพยาบาลดอกคำใต้และโรงพยาบาลจุน แบบสอบถามเก็บรวบรวม กลับคืนมาได้1,063 ชุด คิดเป็นร้อยละ97.90 ของแบบสอบถามที่แจกออกไปทั้งหมด 1,092 ชุดสำหรับสถิติที่ใช้ คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการศึกษาเปรียบเทียบปรากฎว่า โรงพยาบาลทั้ง 2 แห่งมีความเห็นไม่แตกต่างกัน กล่าวคือ (1) ปัญหาที่สำคัญ คือ โรงพยาบาลมีขั้นตอนการให้บริการที่ไม่จำเป็น และการให้บริการล่าช้า (2) แนวทางการพัฒนาที่สำคัญ คือ บุคลากรควรปฎิบัติหน้าที่ในการให้บริการประชาชนโดยยึดหลักการ ปฏิบัติหน้าที่เน้นความสำเร็จและลดขั้นตอนการให้บริการประชาชนที่ไม่จำเป็นและ (3) ปัจจัยที่มีส่วน สำคัญทำให้แนวทางการพัฒนาการบริหารจัดการด้านการให้บริการประชาชนของโรงพยาบาลประสบ ผลสำเร็จ คือ ปัจัยด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การที่บุคลากรมีความตระหนักของ การให้บริการและความรับผิดชอบth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2009.166en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectโรงพยาบาลดอกคำใต้th_TH
dc.subjectโรงพยาบาลจุนth_TH
dc.subjectบริการการพยาบาลของโรงพยาบาล -- ไทย -- พะเยาth_TH
dc.titleการเปรียบเทียบการบริหารจัดการด้านการให้บริการประชาชนระหว่างโรงพยาบาลดอกคำใต้กับโรงพยาบาลจุนในจังหวัดพะเยาth_TH
dc.title.alternativeComparison of management administration in terms of people services between the Dokkhamtai and the Chun Hospitals in Phayao Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe main objectives of this study were to comparatively study (1) problems of management administration in terms of people services between Dokkhamtai and Chun Hospitals in Phayao Province, (2) the development guidelines of management administration in terms of people services between Dokkhamtai and Chun Hospitals in Phayao Province, and (3) factors playing important parts of the success of development guidelines of management administration in terms of people services of the hospitals. This study was a survey research using questionnaires which were pretested and checking for validity and 0.898 level of reliability. Samples of 1,092 were people who received the services of Dokkhamtai and Chun Hospitals. 1,092 or 97.90% of questionnaires were retrieved. Statistical tools employed were percentage, mean, standard deviation, and t-test. The comparative study results showed that the both hospitals’ opinions were not different, namely (1) the major problems were the hospitals’ unnecessary service process and slow services; (2) the major development guidelines were the officers should perform their services emphasizing on achievement and reduction of unnecessary service steps; (3) the major factor playing important parts of the success of development guidelines of management administration in terms of people services of the hospitals was human resource factor particularly the service mind of the officers and their responsibilityen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
118999.pdfเอกสารฉบับเต็ม6.95 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons