Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6532
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิรัช วิรัชนิภาวรรณ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorศิรินทร์ ธูปกล่ำ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorกชกร ว่องมงคลเดช, 2513--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-06-20T02:16:05Z-
dc.date.available2023-06-20T02:16:05Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6532-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์สำคัญเพื่อศึกษา (1) ปัญหาการบริหารจัดการด้วยระบบ ศุลกากรอิเล็กทรอนิกส์ของกรมศุลกากร (2) แนวทางการเพิ่มศักยภาพในการบริหารจัดการด้วย ระบบศุลกากรอิเล็กทรอนิกส์ของกรมศุลกากร และ (3) ภาพรวมแนวโน้มของการบริหารจัดการ ด้วยระบบศุลกากรอิเล็กทรอนิกส์ของกรมศุลกากร การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือสำหรับการ เก็บรวบรวมข้อมูลสนาม แบบสอบถามได้ผ่านการทดสอบ รวมทั้งผ่านการทดสอบความเที่ยงตรง และความเชื่อถือได้ที่ระดับ 0.92 สำหรับกลุ่มตัวอย่าง คือ ข้าราชการกรมศุลกากรที่ปฏิบัติงานใน สำนักงานศุลกากรส่วนกลางเขตกรุงเทพมหานคร และเขตปริมณฑล รวมทั้งที่ปฎิบัติงานใน สำนักงานศุลกากรส่วนภูมิภาค รวมทั้งสิ้น 1.103 คน ได้แบบสอบถามกลับคืนมา 1.009 ชุด คิดเป็น ร้อยละ 91.48 ของกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด ข้อมูลจากแบบสอบถามได้ถูกนำมาวิเคราะห์ด้วยสถิติ คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการศึกษาพบว่า (1) ปัญหาที่สำคัญ คือ การขาดการประเมินผลแผนในการนำระบบ ศุลกากรอิเล็กทรอนิกส์มาให้บริการ (2) แนวทางการเพิ่มศักยภาพในการบริหารจัดการด้วยระบบ ศุลกากรอิเล็กทรอนิกส์ของกรมศุลกากรที่สำคัญคือ ผู้บริหารของกรมศุลกากรควรกำหนดแผนและ มาตรการที่ชัดเจนและต่อเนื่องเพื่อเป็นแนวทางในการประเนินผลแผน และ (3) ภาพรวมแนวโน้ม ของการบริหารจัดการที่สำคัญในอนาคต คือ ประสิทธิภาพในการบริหารจัดการด้วยระบบศุลกากร อิเล็กทรอนิกส์ของกรมศุลกากรในอนาคตมีแนวโน้มสูงกว่าในปัจจุบันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2009.184en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectกรมศุลกากร -- การบริหารth_TH
dc.subjectการแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์th_TH
dc.subjectระบบศุลกากรอิเล็กทรอนิกส์th_TH
dc.titleการวิเคราะห์การบริหารจัดการด้วยระบบศุลกากรอิเล็กทรอนิกส์ของกรมศุลกากรth_TH
dc.title.alternativeAnalysis of management administration by the electronic customs system of the customs departmentth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe mam purposes of this study were to examine (1) the problems of management administration by the Electronic Customs System of the Customs Department, (2) the increase of management administration potentials guidelines by the Electronic Customs System of the Customs Department, and (3) the overview trends of the management administration by the Electronic Customs System of the Customs Department. This study was a survey research by using questionnaires. The questionnaires were being pre-tested for validity and 0.92 level of reliability. The samples of 1,103 divided into die officials of the Customs Department in Head office in Bangkok Metropolis and area nearby including in the Regional Offices of the Customs Department. 1,009 sets of questionnaire, equal to 91.48% of all samples were gathered back. Data from the collected questionnaires was analyzed by the statistics: percentage, mean, standard deviation, and t-test. The study results found that (1) the main problem was the lack of plan evaluation of applying the Electronic Customs System to services; (2) the major guideline of increasing the management administration potentials by the Electronic Customs System of the Customs Department was the executives of the Customs Department should establish the explicit and continuing plans and measures for plan evaluation; and (3) the major overview trend was the efficiencies of the management administration by the Electronic Customs System of the Customs Department in the future trend to higher than the presenten_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
119067.pdfเอกสารฉบับเต็ม7.62 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons