Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6536
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เชาว์ โรจน์แสง | th_TH |
dc.contributor.author | ชญานันทน์ บัญญัติ, 2520- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-06-20T03:27:48Z | - |
dc.date.available | 2023-06-20T03:27:48Z | - |
dc.date.issued | 2552 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6536 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านบุคคลกับอัตราการเกิดอุบัติเหตุ (2) ปัจจัยด้านการกระทำที่ไม่ปลอดภัยที่ส่งผลต่ออัตราการเกิดอุบัติเหตุ (3) ปัจจัยด้านสภาพการณ์ที่ไม่ปลอดภัยที่ส่งผลต่ออัตราการเกิดอุบัติเหตุ (4) ระบบการจัดการด้านความปลอดภัยขององค์กร (5) ปัญหาและแนวทางแก้ไขในการลดอัตราการเกิดอุบัติเหตุอันเนื่องจากการทำงานของพนักงาน การคำนวนการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงสำรวจโดยศึกษาการกระทำที่ไม่ปลอดภัย ที่เกิดจากการกระทำต่าง ๆ หรือการปฎิบัติงานของคนที่มีผลทำให้เกิดความไม่ปลอดภัย และสภาพการณ์ที่ไม่ปลอดภัย ที่เกิดจาก สภาพของโรงงาน เครื่องจักร กระบวนการผถิต อุปกรณ์ในการผลิต ไม่มีความปลอดภัยเพียงพอ ใช้ประชากรที่ศึกษาเป็นพนักงานบริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จำกัด (มหาชน) ที่เคยเกิดอุบัติเหตุในขณะที่ปฏิบัติงานอยู่ภายในบริษัท จำนวน 1,069 คน จำนวน 34 สาขาทำการเลือกตัวอย่างแบบโควต้า และกำหนดขนาดตัวอย่างโดยใช้สูตรของทาโร่ ยามาเน่ ที่ความคลาดเคลื่อน 0.05 ใช้ตัวอย่าง 300 คน เก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถาม ทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบไคสแคว์และการวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้น จากผลการวิจัยพบว่า (1) ปัจจัยด้านบุคคล เช่น เพศ อายุ ประสบการณ์การทำงาน วุฒิการศึกษาตำแหน่งงาน ลักษณะงานที่ทำ และการฝึกอบรม ไม่มีความสัมพันธ์กับอัตราการเกิดอุบัติเหตุ (2) ปัจจัยด้านการกระทำที่ไม่ปลอดภัยที่ส่งผลต่ออัตราการเกิดอุบัติเหตุอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ คือ การมีทัศนคติที่ไม่ถูกต้องในการทำงาน และปัจจัยด้านการกระทำที่ไม่ปลอดภัยส่งผลต่ออัตราการเกิดอุบัติเหตุในภาพรวมอยู่ในระดับมากโดยปัจจัยหลัก ได้แก่ การหยอกล้อเล่นกันระหว่างทำงาน (3) ปัจจัยด้านสภาพการณ์ที่ไม่ปลอดภัย ไม่ส่งผลต่ออัตราการเกิดอุบัติเหตุอย่างมีนัยสำกัญทางสถิติ แต่ส่งผลต่ออัตราการเกิดอุบัติเหตุในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง โดยปัจจัยหลักได้แก่ พื้นที่ทำงานแคบทำให้ขับรถยกไฟฟ้าเข้าไปจัดเรียงสินค้าไม่สะดวก (4) ระบบการจัดการด้านความปลอดภัยของบริษัทมีการจัดการในระดับปานกลาง โดยผู้บังคับบัญชาให้ความสำคัญในด้านความปลอดภัยในการทำงานในระดับมาก และ (5) ปัญหาที่พบจากการวิจัยพบว่าพนักงานไม่ปฏิบัติตามกฎระเบียบความปลอดภัย ไม่มีผู้สอนวิธีการทำงานที่ปลอดภัย และเครี่องมือที่ใช้ไนการปฏิบัติงานไม่เพียงพอต่อการใช้งานแนวทางแก้ไข คือ ฝ่ายบริหารต้องทบทวนระบบการบริหารความปลอดภัย ทำการจัดอบรมด้านความปลอดภัยและจัดหาอุปกรณ์ให้เพียงพอต่อการใช้งาน | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2009.185 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์--พนักงาน--อุบัติเหตุ | th_TH |
dc.subject | อุบัติเหตุในงานอุตสาหกรรม--ไทย | th_TH |
dc.subject | การทำงาน--อุบัติเหตุ | th_TH |
dc.title | ปัจจัยที่มีผลกระทบต่ออัตราการเกิดอุบัติเหตุอันเนื่องจากการทำงานของพนักงาน : กรณีศึกษาบริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จำกัด (มหาชน) | th_TH |
dc.title.alternative | Factors affecting work related accident rate among staff : a case study of Home Product Center Public Company Limited | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.identifier.url | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2009.185 | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were to study on: (1) the relationships between the personal factors and the rate of accident occurrence; (2) the unsafe act factors affecting the rate of accident occurrence; (3) the unsafe condition factors affecting the rate of accident occurrence; (4) the organization’s safety management procedures; and (5) the problems and solutions which reduce the accident occurrence rate resulted by staffs’ working behaviors. This survey was taken in research by the studying of unsafe acts which occurred from various acts of human and unsafe conditions from the factory environments, machines, processes, and production materials. The research was conducted among the staffs at Home Product Center Public Company Limited, who had the accidents during the working procedures in work place which include 1,069 staffs in 34 company’s branches. Three hundred staffs were randomized by quota sampling and the size of sample was determined by Taro Yamane formula at 0.05 of sampling error. The researcher uses the questionnaires to record the results and evaluated the results by using the statistics to analyze data as percentage, mean, standard deviation, chi-square test, and linear regression analysis. The results of this research were that: (1) personal factors including sex, age, working experiences, education qualificationjob position, type of job, and the trainings did not relate overall rate of accident; (2) unsafe act factors affected the rate of accident occurrence, statistical significance were the wrong working attitudes andunsafe act factors affected overall rate of accident occurrence at the high level. These factors were mainly resulted from staffs teasing during the working process; (3) unsafe condition factors did not affect in a significant rate of accident occurrence, but affected overall rate of accident occurrence at the moderate level. The cause of accident was too narrow space of the store which result in the difficulties of electric forklift to set up goods; (4) company’s safety management procedures were classified at the moderate level. The strength of the company’s safety management procedures was that the managers paid attention to the safety in workplace at the high level; and (5) research problems were found that staffs did not follow the work safety procedures, did not have safety trainings, and the safety working equipment did not meet the demand. The solutions to reduce the accident occurrence rate resulted by staffs’ working behaviors include management section should review whether the coverage of current safety system, should arrange safety training, and should provide enough safety equipment for staffs. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | สุวีณา ตั่งโพธิสุวรรณ | th_TH |
Appears in Collections: | Manage-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
119071.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 4.25 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License