Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6537
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจีระ ประทีป, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสุจิตรา อ่อนค้อม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorชัยวัฒน์ แพทยวิโรน์กุล-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-06-20T03:35:45Z-
dc.date.available2023-06-20T03:35:45Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6537-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารรัฐกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาหลักธรรมของพระพุทธศาสนาที่เกี่ยวข้องกับภาวะ ผู้นำภาครัฐ (2) เสนอแนวทางในการพัฒนาภาวะผู้นำภาครัฐตามหลักของพระพุทธศาสนา การวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลจากเอกสาร ในเรื่องเกี่ยวกับ ภาวะผู้นำโดยเน้นภาวะผู้นำภาครัฐ ที่ปรากฎในคัมภีร์ทั้งพระไตรปิฎก คัมภีร์ชั้นรอง ตำราและหนังสือของ ปราชญ์และผู้รู้ทางพระพุทธศาสนาตลอดจนตามทัศนะของนักวิชาการทางด้านการบริหารสมัยใหม่และ งานศึกษาวิจัยอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องพร้อมทั้งมีการเก็บรวบรวมข้อมูลจากการสัมภาษณ์เชิงลึกจากผู้ทรงคุณวุฒิ ทั้งพระและฆราวาสรวมจำนวน 12 ท่าน ผลการวิจัยพบว่า (1) มีหลักธรรมของพระพุทธศาสนาที่เกี่ยวข้องกับผู้นำและภาวะผู้นำ ภาครัฐเป็นจำนวนมาก ซึ่งหลักธรรมเหล่านี้จะประกอบกันเป็นหมวดหมู่ บางหมวดหมู่ก็มีองค์ธรรมเพียง ข้อเดียวไปจนถึงหมวดธรรมที่มีองค์ธรรมนับสิบข้อ เพราะองค์ธรรมต่างๆ ย่อมหนุนช่วยแต่ละต้านเพื่อ ส่งผลให้เกิดการบูรณาการเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของหลักธรรมหมวดนั้น หลักธรรมที่วิจัยพบสามารถ จัดกลุ่มได้เป็นสองกลุ่มใหญ่ คือกลุ่มที่หนึ่ง หลักธรรมของพระพุทธศาสนาที่เกี่ยวกับการมีความเห็นที่ ถูกต้อง การเข้าใจและรู้เท่าทันความเป็นจริงและธรรมดาของโลกและชีวิต กลุ่มนี้แบ่งย่อยได้เป็น 5 ประเด็น รวมหมวดธรรมได้ 17 หมวด กลุ่มที่สอง หลักธรรมของพระพุทธศาสนาที่เกี่ยวกับการมี ประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการตำเนินชีวิตและการทำงานอย่างถูกต้องชอบธรรม กลุ่มนี้แบ่งย่อยได้ เป็น 10 ประเด็น รวมหมวดธรรมได้ 64 หมวด ผลการวิจัยบ่งชี้อย่างชัดเจนว่าผู้นำภาครัฐตามหลัก พระพุทธศาสนาต้องเป็นผู้มีศิลธรรมอย่างสูงคู่กันไปกับการมีความรู้ความสามารถ โดยผู้นำต้องมีทัศนคติ ที่ถูกต้อง และมีการพูดการกระทำที่ถูกต้องด้วย เพื่อนำสมาชิกขององค์การภาครัฐหรือประชาชนโดยรวม ให้ไปสู่จุดหมายที่ดีงามสูงขึ้นไปตามลำดับชั้นจากประโยชน์และความสุขปัจจุบัน เบื้องหน้า และอย่างยิ่ง (2) แนวทางในการพัฒนาภาวะผู้นำภาครัฐตามหลักพระพุทธศาสนา มีดังนี้ 1) ในด้านหลักการ คือ หน่วยงานของภาครัฐทุกแห่งและทุกระดับต้องให้ความสำคัญกับการอบรมบ่มเพาะหลักธรรมของ พระพุทธศาสนา มีดังนี้ในการอบรมทุกประเภทและรูปแบบ และสร้างสรรค์ให้ธรรมะเป็นวิถีชีวิตและ วัฒนธรรมขององค์การ 2) ในด้านวิธีการ คือ อบรมโดยมีเวลานานพอควร ประเมินผลอย่างรอบด้านและ ต่อเนื่อง ใช้สื่อทุกชนิดเพื่อให้ทุกคนเข้าถึงได้ทุกเวลาและสถานที่ และใช้การนำเสนอที่น่าสนใจ เข้าใจง่าย และปฏิบัติตามได้อย่างเป็นรูปธรรมth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2008.148-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectภาวะผู้นำ--แง่ศาสนาth_TH
dc.titleภาวะผู้นำภาครัฐตามหลักพระพุทธศาสนาth_TH
dc.title.alternativeLeadership in public sector according to Buddhist doctrineth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2008.148-
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to (1) study Buddhist doctrines related to leadership in public sector (2) suggest directions in developing public sector leadership according to Buddhist doctrines. This research was qualitative research, collecting data from the Tipitaka , secondary scriptures and books by Buddhist scholars on leadership particularly in public sector. In-depth interview with twelve monks and lay scholars was also conducted.. It could be concluded from the research that (1) many Buddhist doctrines were related to public sector leadership. These doctrines were composed in groups of which each component contributed to the accomplishment of the integrated purpose of the group. The research found out that these doctrines could be grouped in two major groups: the first group was the Buddhist doctrines which stated about right view and insight about the truth of world and life. This group could be grouped into 5 issues which totally composed of 17 doctrines. The second group was the Buddhist doctrines which stated about efficiency and effectiveness in righteous living and working. This group could be grouped into 10 issues which totally composed of 64 doctrines. The research clearly showed that public sector leader according to Buddhist doctrines should possess high morality along with performance. Leader should possess right view , speech and action in order to lead members of public organization or general public to achieve righteous goals which ascend from present to future and ultimate benefits. (2) directions in developing public sector leadership according to Buddhist doctrines were 1) in principle, every public organization at every level should emphasize Buddhist doctrines in every form of training and creating Dhamma the way of life and organization culture 2) the means in developing were long- term and continuous training using all kinds of media and interesting and tangible presentationsen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
112129.pdfเอกสารฉบับเต็ม9.4 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons